รู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ รู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
1.นางสุวรรณี ติ้งหวัง 2.นางฮาดีน๊ะ สาหมีด 3.นางกลิ่น แซ่เบ้ 4.นางบีฉ๊ะ องศารา 5. นางลัดดาวัล วงศ์น้ำรอบ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
ธันวาคม 2567
ชื่อโครงการ รู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5313-02-008 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 สิงหาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"รู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
รู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู
บทคัดย่อ
โครงการ " รู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5313-02-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 สิงหาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 117,781.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อสม.ถือเป็นแนวหน้าในการทำงานคุ้มครองผู้บริโภค เนื่องจากเป็นผู้ใกล้ชิดผู้บริโภคในชุมชน หากอสม.มีความรู้ความเข้าใจและเท่าทันกับสิ่งที่ไม่ปลอดภัย ก็จะสามารถเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ไม่ถูกต้อง สามารถเตือนภัยอันตรายให้กับผู้คนในชุมชน และยังสามารถส่งต่อข้อมูลเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่ปลอดภัยให้แก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องต่อไปได้ (ข้อมูลจาก คู่มือ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค,สสส.) และจากงานวิจัยโครงการพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคภาคใต้ได้ทำการวิจัยบทบาท อสม.ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ใน 3 จังหวัด ได้แก่ สุราษฎร์ธานี สงขลา และสตูล พบว่าผลิตภัณฑ์ที่มักประสบปัญหาของผู้บริโภคมาก คือ เครื่องสำอาง และนมพร้อมดื่ม สิ่งที่ต้องเร่งดำเนินการคือ เพิ่มช่องทางและโอกาสร้องเรียนของผู้บริโภคให้มากขึ้น (ข้อมูลจากงานวิจัยโครงการพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคภาคใต้ โดย เภสัชกรสมชาย ละอองพันธุ์)อสม.และประชาชนสามารถใช้ชุดทดสอบสารต้องห้ามเบื้องต้นของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตรวจทดสอบผลิตภัณฑ์ที่เข้าข่ายหรือสงสัยว่าอาจมีสารปนเปื้อนได้ด้วยตนเอง (ข้อมูลจาก คู่มือ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค,สสส.)
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลละงู มีสมาชิกทั้งสิ้น 317 คน มีบทบาทหน้าที่ตามมาตรฐานการสาธารณสุขมูลฐาน และตามมาตรฐานสมรรถนะ อสม. (ข้อมูลจากคู่มืออสม.ยุคใหม่ กระทรวงสาธารณสุข)ซึ่งการดำเนินงานจากที่ผ่านมา ชมรม อสม. ตำบลละงู เน้นการป้องกันและควบคุมโรค ทั้งโรคติดต่อ และโรคเรื้อรัง เช่น ไข้เลือดออก โควิด 19 เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น แต่ยังขาดผลการดำเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ทำให้ยังไม่มีฐานข้อมูลของงานคุ้มครองผู้บริโภค ประกอบกับได้รับทราบข้อมูลการสุ่มสำรวจร้านค้าที่ขายเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่อำเภอละงู โดย เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคอำเภอละงู จำนวน 4 ร้าน พบเครื่องสำอางเข้าข่ายผิดกฎหมาย 15 ผลิตภัณฑ์ที่ยังวางขายในร้าน ได้แก่ ครีมฝาสีขาว, Clobetamil G ครีมพม่า, ครีม Mui Lee Hiang, ครีมประทินผิว Best Beauty, สบู่บัวหิมะ, Gold Mask, KT Night Cream, Aura White, สบู่ไข่มุกผสมหิมะ, สบู่น้ำนมข้าว, K.Brothers, สบู่ไวท์เทนนิ่งไรท์มิ้ลค์, Collagen Beauty ream และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเข้าข่ายผิดกฎหมาย 2 ผลิตภัณฑ์ที่ยังวางขายในร้าน ได้แก่ S Slim ผลิตภัณฑ์ลดน้ำหนัก และ Collagen Bio Clinic ผิวขาว (ข้อมูลจากหน่วยงานประจำจังหวัดสตูล สภาองค์กรของผู้บริโภค) ซึ่ง หากยังมีการจำหน่ายหรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่เข้าข่ายผิดกฎหมายเหล่านี้ อาจส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของผู้บริโภค
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลละงู เห็นความสำคัญในการป้องกันและต้องการส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลละงูมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางที่ปลอดภัยโดยการสำรวจข้อมูลเพื่อจัดทำเป็นฐานข้อมูลร้านค้าในพื้นที่ตำบลละงูที่มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางเข้าข่ายผิดกฎหมาย และให้คำแนะนำกรณีตรวจพบสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพที่จำหน่าย โดยประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ร่วมลงตรวจทดสอบผลิตภัณฑ์ และการออกเกียรติบัตรให้แก่ร้านค้าที่ผ่านการสำรวจแล้วพบว่าจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกกฎหมายและปลอดภัย จึงได้จัดทำ “โครงการรู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู” ขึ้น โดยการสร้างแกนนำเพื่อเป็นตัวแทนในการเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนในตำบลละงู และเฝ้าระวัง ตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายภายในตำบลละงูต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเกิดกลไกเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางเข้าข่ายผิดกฎหมายในพื้นที่ตำบลละงู
- เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง เข้าข่ายผิดกฎหมาย
ให้กับแกนอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลละงู
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สื่อสารประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลเรื่องโทษของการใช้เครื่องสำอางผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย
- เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแบบรายงาน
- ประชุมคณะทำงานโครงการจำนวน 25 คน
- อบรมให้ความรู้แกนนำ อสม. เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ
- สำรวจการจำหน่ายและจัดทำฐานข้อมูลร้านค้าที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและ/หรือเครื่องสำอาง หมู่ที่ 1 – 18 ตำบลละงู
- เวทีคืนข้อมูลร่วมกำหนดกติการ้านชำปลอดผลิตภัณฑ์สุขภาพเครื่องสำอางเสี่ยงผิดกฎหมาย
- ติดตามประเมินผลร้านค้าในพื้นที่ตำบลละงูจำนวน 2 ครั้ง
- มอบเกียรติบัตรร้านค้าขายผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ออกโดยสภาองค์กรของผู้บริโภค หน่วยงานจังหวัดสตูล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำที่เข้ารับการอบรมและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง
- ร้านค้าในตำบลละงู ไม่จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมาย
- เกิดนวัตกรรมการเฝ้าระวังและรับแจ้งเหตุกรณีพบผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเกิดกลไกเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางเข้าข่ายผิดกฎหมายในพื้นที่ตำบลละงู
ตัวชี้วัด : -มีกลไกเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางเข้าข่ายผิดกฎหมายในพื้นที่ตำบลละงูจำนวน 1 ชุด
-ร้อยละ 100 ของร้านค้าในพื้นที่ตำบลละงูที่ตรวจพบว่า จำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางที่เข้าข่ายผิดกฎหมายไม่นำมาจำหน่ายซ้ำ
80.00
100.00
2
เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง เข้าข่ายผิดกฎหมาย
ให้กับแกนอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลละงู
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของแกนนำมีความรู้ความเข้าใจอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง เข้าข่ายผิดกฎหมาย
100.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
180
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเกิดกลไกเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางเข้าข่ายผิดกฎหมายในพื้นที่ตำบลละงู (2) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง เข้าข่ายผิดกฎหมาย
ให้กับแกนอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลละงู
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สื่อสารประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลเรื่องโทษของการใช้เครื่องสำอางผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย (2) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแบบรายงาน (3) ประชุมคณะทำงานโครงการจำนวน 25 คน (4) อบรมให้ความรู้แกนนำ อสม. เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ (5) สำรวจการจำหน่ายและจัดทำฐานข้อมูลร้านค้าที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและ/หรือเครื่องสำอาง หมู่ที่ 1 – 18 ตำบลละงู (6) เวทีคืนข้อมูลร่วมกำหนดกติการ้านชำปลอดผลิตภัณฑ์สุขภาพเครื่องสำอางเสี่ยงผิดกฎหมาย (7) ติดตามประเมินผลร้านค้าในพื้นที่ตำบลละงูจำนวน 2 ครั้ง (8) มอบเกียรติบัตรร้านค้าขายผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ออกโดยสภาองค์กรของผู้บริโภค หน่วยงานจังหวัดสตูล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
รู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5313-02-008
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( 1.นางสุวรรณี ติ้งหวัง 2.นางฮาดีน๊ะ สาหมีด 3.นางกลิ่น แซ่เบ้ 4.นางบีฉ๊ะ องศารา 5. นางลัดดาวัล วงศ์น้ำรอบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ รู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
1.นางสุวรรณี ติ้งหวัง 2.นางฮาดีน๊ะ สาหมีด 3.นางกลิ่น แซ่เบ้ 4.นางบีฉ๊ะ องศารา 5. นางลัดดาวัล วงศ์น้ำรอบ
ธันวาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5313-02-008 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 สิงหาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"รู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
รู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู
บทคัดย่อ
โครงการ " รู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5313-02-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 สิงหาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 117,781.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อสม.ถือเป็นแนวหน้าในการทำงานคุ้มครองผู้บริโภค เนื่องจากเป็นผู้ใกล้ชิดผู้บริโภคในชุมชน หากอสม.มีความรู้ความเข้าใจและเท่าทันกับสิ่งที่ไม่ปลอดภัย ก็จะสามารถเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ไม่ถูกต้อง สามารถเตือนภัยอันตรายให้กับผู้คนในชุมชน และยังสามารถส่งต่อข้อมูลเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่ปลอดภัยให้แก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องต่อไปได้ (ข้อมูลจาก คู่มือ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค,สสส.) และจากงานวิจัยโครงการพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคภาคใต้ได้ทำการวิจัยบทบาท อสม.ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ใน 3 จังหวัด ได้แก่ สุราษฎร์ธานี สงขลา และสตูล พบว่าผลิตภัณฑ์ที่มักประสบปัญหาของผู้บริโภคมาก คือ เครื่องสำอาง และนมพร้อมดื่ม สิ่งที่ต้องเร่งดำเนินการคือ เพิ่มช่องทางและโอกาสร้องเรียนของผู้บริโภคให้มากขึ้น (ข้อมูลจากงานวิจัยโครงการพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคภาคใต้ โดย เภสัชกรสมชาย ละอองพันธุ์)อสม.และประชาชนสามารถใช้ชุดทดสอบสารต้องห้ามเบื้องต้นของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตรวจทดสอบผลิตภัณฑ์ที่เข้าข่ายหรือสงสัยว่าอาจมีสารปนเปื้อนได้ด้วยตนเอง (ข้อมูลจาก คู่มือ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค,สสส.)
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลละงู มีสมาชิกทั้งสิ้น 317 คน มีบทบาทหน้าที่ตามมาตรฐานการสาธารณสุขมูลฐาน และตามมาตรฐานสมรรถนะ อสม. (ข้อมูลจากคู่มืออสม.ยุคใหม่ กระทรวงสาธารณสุข)ซึ่งการดำเนินงานจากที่ผ่านมา ชมรม อสม. ตำบลละงู เน้นการป้องกันและควบคุมโรค ทั้งโรคติดต่อ และโรคเรื้อรัง เช่น ไข้เลือดออก โควิด 19 เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น แต่ยังขาดผลการดำเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ทำให้ยังไม่มีฐานข้อมูลของงานคุ้มครองผู้บริโภค ประกอบกับได้รับทราบข้อมูลการสุ่มสำรวจร้านค้าที่ขายเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่อำเภอละงู โดย เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคอำเภอละงู จำนวน 4 ร้าน พบเครื่องสำอางเข้าข่ายผิดกฎหมาย 15 ผลิตภัณฑ์ที่ยังวางขายในร้าน ได้แก่ ครีมฝาสีขาว, Clobetamil G ครีมพม่า, ครีม Mui Lee Hiang, ครีมประทินผิว Best Beauty, สบู่บัวหิมะ, Gold Mask, KT Night Cream, Aura White, สบู่ไข่มุกผสมหิมะ, สบู่น้ำนมข้าว, K.Brothers, สบู่ไวท์เทนนิ่งไรท์มิ้ลค์, Collagen Beauty ream และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเข้าข่ายผิดกฎหมาย 2 ผลิตภัณฑ์ที่ยังวางขายในร้าน ได้แก่ S Slim ผลิตภัณฑ์ลดน้ำหนัก และ Collagen Bio Clinic ผิวขาว (ข้อมูลจากหน่วยงานประจำจังหวัดสตูล สภาองค์กรของผู้บริโภค) ซึ่ง หากยังมีการจำหน่ายหรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่เข้าข่ายผิดกฎหมายเหล่านี้ อาจส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของผู้บริโภค
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลละงู เห็นความสำคัญในการป้องกันและต้องการส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลละงูมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางที่ปลอดภัยโดยการสำรวจข้อมูลเพื่อจัดทำเป็นฐานข้อมูลร้านค้าในพื้นที่ตำบลละงูที่มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางเข้าข่ายผิดกฎหมาย และให้คำแนะนำกรณีตรวจพบสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพที่จำหน่าย โดยประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ร่วมลงตรวจทดสอบผลิตภัณฑ์ และการออกเกียรติบัตรให้แก่ร้านค้าที่ผ่านการสำรวจแล้วพบว่าจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกกฎหมายและปลอดภัย จึงได้จัดทำ “โครงการรู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู” ขึ้น โดยการสร้างแกนนำเพื่อเป็นตัวแทนในการเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนในตำบลละงู และเฝ้าระวัง ตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายภายในตำบลละงูต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเกิดกลไกเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางเข้าข่ายผิดกฎหมายในพื้นที่ตำบลละงู
- เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง เข้าข่ายผิดกฎหมาย ให้กับแกนอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลละงู
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สื่อสารประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลเรื่องโทษของการใช้เครื่องสำอางผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย
- เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแบบรายงาน
- ประชุมคณะทำงานโครงการจำนวน 25 คน
- อบรมให้ความรู้แกนนำ อสม. เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ
- สำรวจการจำหน่ายและจัดทำฐานข้อมูลร้านค้าที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและ/หรือเครื่องสำอาง หมู่ที่ 1 – 18 ตำบลละงู
- เวทีคืนข้อมูลร่วมกำหนดกติการ้านชำปลอดผลิตภัณฑ์สุขภาพเครื่องสำอางเสี่ยงผิดกฎหมาย
- ติดตามประเมินผลร้านค้าในพื้นที่ตำบลละงูจำนวน 2 ครั้ง
- มอบเกียรติบัตรร้านค้าขายผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ออกโดยสภาองค์กรของผู้บริโภค หน่วยงานจังหวัดสตูล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 180 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำที่เข้ารับการอบรมและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง
- ร้านค้าในตำบลละงู ไม่จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมาย
- เกิดนวัตกรรมการเฝ้าระวังและรับแจ้งเหตุกรณีพบผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเกิดกลไกเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางเข้าข่ายผิดกฎหมายในพื้นที่ตำบลละงู ตัวชี้วัด : -มีกลไกเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางเข้าข่ายผิดกฎหมายในพื้นที่ตำบลละงูจำนวน 1 ชุด -ร้อยละ 100 ของร้านค้าในพื้นที่ตำบลละงูที่ตรวจพบว่า จำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางที่เข้าข่ายผิดกฎหมายไม่นำมาจำหน่ายซ้ำ |
80.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง เข้าข่ายผิดกฎหมาย
ให้กับแกนอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลละงู ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของแกนนำมีความรู้ความเข้าใจอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง เข้าข่ายผิดกฎหมาย |
100.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 180 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 180 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเกิดกลไกเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอางเข้าข่ายผิดกฎหมายในพื้นที่ตำบลละงู (2) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง เข้าข่ายผิดกฎหมาย ให้กับแกนอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลละงู
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สื่อสารประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลเรื่องโทษของการใช้เครื่องสำอางผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย (2) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแบบรายงาน (3) ประชุมคณะทำงานโครงการจำนวน 25 คน (4) อบรมให้ความรู้แกนนำ อสม. เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ (5) สำรวจการจำหน่ายและจัดทำฐานข้อมูลร้านค้าที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและ/หรือเครื่องสำอาง หมู่ที่ 1 – 18 ตำบลละงู (6) เวทีคืนข้อมูลร่วมกำหนดกติการ้านชำปลอดผลิตภัณฑ์สุขภาพเครื่องสำอางเสี่ยงผิดกฎหมาย (7) ติดตามประเมินผลร้านค้าในพื้นที่ตำบลละงูจำนวน 2 ครั้ง (8) มอบเกียรติบัตรร้านค้าขายผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ออกโดยสภาองค์กรของผู้บริโภค หน่วยงานจังหวัดสตูล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
รู้จักเลือก รู้จักใช้ ปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง ตำบลละงู จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5313-02-008
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( 1.นางสุวรรณี ติ้งหวัง 2.นางฮาดีน๊ะ สาหมีด 3.นางกลิ่น แซ่เบ้ 4.นางบีฉ๊ะ องศารา 5. นางลัดดาวัล วงศ์น้ำรอบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......