กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ออกกำลังกายด้วยไทเก็กเพื่อสุขภาพ ”
ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
ร.ต.ท.แสง ณ แฉล้ม




ชื่อโครงการ ออกกำลังกายด้วยไทเก็กเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5245-3-1 เลขที่ข้อตกลง 41/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 สิงหาคม 2567 ถึง 6 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"ออกกำลังกายด้วยไทเก็กเพื่อสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ออกกำลังกายด้วยไทเก็กเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " ออกกำลังกายด้วยไทเก็กเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5245-3-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 สิงหาคม 2567 - 6 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,032.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมของคนไทยเริ่มเปลี่ยนไปจากอดีต ดังจะเห็นได้จากบริบทการทำงาน เศรษฐกิจ และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป มีการแข่งขันทั้งทางด้านข่าวสารสารสนเทศและเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตของคนในสังคมต้องเร่งรีบและแข่งขันตามกลไกเศรษฐกิจ แต่ในความเจริญนั้นก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เกิดขึ้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาอาชญากรรม สุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจแต่ระบบเศรษฐกิจนั้นยังคงดำเนินไปเรื่อย ๆ โดยทรัพยากรสำคัญที่สุดคือทรัพยากรมนุษย์นั้นไม่ยั่งยืนและพัฒนาขึ้น เพราะร่างกายมนุษย์เสื่อมลงตามกาลเวลา ประกอบกับมลภาวะทางสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น แต่เวลาในการดูแลสุขภาพของตนเองกลับน้อยลง เกิดปัญหาด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น ทำให้ประชาชนหันไปพึ่งพาสินค้าที่จะทำให้สุขภาพดีจากสื่อต่างๆน้ำสมุนไพรต่างๆ ซึ่งไม่จำเป็นและมีราคาแพง ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพด้วยวิธีง่ายๆ และได้ผลจึงเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับช่วงเวลาที่เศรษฐกิจไม่ดีนัก เคยมีคำกล่าวที่ว่า ไม่มีสมบัติใดจะล้ำค่าไปกว่าสุขภาพที่ดี สุขภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้คนมากมายเริ่มหันมาให้ความสนใจมากขึ้น แต่เมื่อสูงอายุมากขึ้น การจะออกกำลังกายอย่างหนักคงไม่สะดวกดังนั้นการออกกำลังกายโดยใช้การรำไทเก็กซึ่งไม่ต้องใช้แรงมาก โอกาสบาดเจ็บน้อย เนื่องจากไทเก็กที่นำมาออกกำลังกายนี้ไม่ใช่ไทเก็กสายต่อสู้ แต่เป็นไทเก็กเพื่อสุขภาพโดยเฉพาะจังหวะช้าๆ และไม่ยากจนเกินไป ง่ายต่อการทำตามที่ไม่ว่ารุ่นไหนวัยไหนก็สามารถทำได้ ชมรมผู้สุงอายุตำบลเขามีเกียรติ ได้เล็งเห็นความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพของประชาชนจึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โครงการ “ออกกำลังกายด้วยไทเก็กเพื่อสุขภาพ” ขึ้น เพื่อให้สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุตำบลเขามีเกียรติ มีความตระหนักถึงการออกกำลังกาย การมีสุขภาพที่แข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและเหมาะสมกับสภาพของร่างกายพร้อมทั้งมีแกนนำ ในการออกกำลังกายทุกวัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สนในการออกกำลังกายด้วยไทเก็กมีทักษะที่ถูกต้อง 2. เพื่อให้ผู้สนใจใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสามัคคีและความสัมพันธ์ที่ดีภายในชมรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ฝึกทักษะการรำไทเก็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สร้างความสุข ความเพลิดเพลินให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ
    1. ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
    2. สุขภาพกาย และสุขภาพใจที่ดี
    3. มีวิสัยทัศน์ที่ดี เป็นคนทันสมัย เข้าสังคมได้ และมองโลกในด้านดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สนในการออกกำลังกายด้วยไทเก็กมีทักษะที่ถูกต้อง 2. เพื่อให้ผู้สนใจใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสามัคคีและความสัมพันธ์ที่ดีภายในชมรม
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุมีทักษะในการออกกำลังกายด้วยไทเก็กที่ถูกต้อง เหมาะสม 1. มีความสุขทางด้านร่างกาย 2. มีคามสุขทางด้านจิตใจ 1. ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นและอยู่อย่างมีความสุข 2. มีวิสัยทัศน์ที่ดี มองโลกในด้านดี 3. เข้าใจสังคมมากขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สนในการออกกำลังกายด้วยไทเก็กมีทักษะที่ถูกต้อง  2. เพื่อให้ผู้สนใจใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสามัคคีและความสัมพันธ์ที่ดีภายในชมรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฝึกทักษะการรำไทเก็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ออกกำลังกายด้วยไทเก็กเพื่อสุขภาพ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5245-3-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ร.ต.ท.แสง ณ แฉล้ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด