โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 ”
พื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวกัลยา คงสุด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ พื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-1-12 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง รหัสโครงการ 68-L3312-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่มีอัตราป่วยเพิ่มมากขึ้นและเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้นอกจากปัจจัยทางกรรมพันธ์ุที่ส่งเสริมการเกิดโรคแล้วการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมทั้งด้านอาหารโดยรับประทานอาหารรสเค็มมันหวานขาดการออกกำลังกายมาีความเครียดสูงเรื้อรังดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่เป็นประจำนับว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดโรคดังกล่าวซึ่งร้อยละ50ของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานประเภทที่2สามารถป้องกันได้เบาหวานประเภทที่2ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในผู้ที่มีอายุมากแต่ในปัจจุบันจะพบมากขึ้นในคนอายุน้อยลงสำหรับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญได้แก่โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดสมองโรคไตเรื้อรังตาบอดปลายประสาทเสื่อมเกิดแผลเรื้อรังเป็นสาเหตุของการตัดเท้าซึ่งนำมาซึ่งความพิการและเสียชีวิตได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทองทำหน้าที่เป็นหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรคฟื้นฟูสุขภาพและให้บริการรักษาโรคเบื้องต้นในปี2567จำนวนประชากรกลุ่มอายุ35ปีขึ้นไปในเเขตรับผิดชอบกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด1,684คนได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานจำนวน1,632รายคิดเป็นร้อยละ96.91ผลการคัดกรองพบเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเบาหวานจำนวน378รายคิดเป็นร้อยละ23.16กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน18รายคิดเป็นร้อยละ1.10และพบผู้ป่วยรายใหม่จำนวน4รายคิดเป็นร้อยละ0.25และกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด1,453รายได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจำนวน1,394รายคิดเป็นร้อยละ95.94พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง216รายคิดเป็นร้อยละ15.49กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง272รายคิดเป็นร้อยละ19.51และพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน11รายคิดเป็นร้อยละ0.79
หากประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ด้านสุขภาพตระหนักในการดูแลสุขภาพเข้ารับการคัดกรองภาวะสุขภาพรวมทั้งมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมสามารถดูแลตนเองครอลครัวและชุมชนเพื่อลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รวมทั้งเมื่อเกิดการเจ็บป่วยได้รับการดูแลตั้งแต่เริ่มแรกได้รับการค้นหาภาวะแทรกซ้อนจะลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนและชะลอความรุนแรงของโรคได้ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และการจัดทำรูปแบบการจัดการโรคเบาหวานให้เข้าสู่ระยะสงบ (Diabetes Remission) จึงเป็นสิ่งสำคัญและสอดคล้องกับนโยบายชาติคือ คนไทยห่างไกลกับโรค NCDs
เพื่อส่งเสริมให้ผู้เป็นเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง โดยใช้ข้อมูลที่เป็นจริง
เพื่อเป็นแรงขับเคลื่อนในการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตจริงของแต่ละรายบุคคล โดยให้ผู้ป่วย
ทำ Self-monitoring และบันทึกข้อมูลผ่าน Platform Analog และ Digital แพทย์ พยาบาลวิชาชีพ
นักโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลจาก Platform และนำมา Counseling วางแผนการรักษาพยาบาลให้สอดคล้อง
กับวิถีชีวิตของผู้เป็นเบาหวานแต่ละบุคคล และมีการติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่องผ่านระบบ
Telemedicine พูดคุย สอบถามแนะนำทางโทรศัพท์ ลดการเดินทางมาโรงพยาบาลและประหยัดเวลาในการ
รอคอย ส่งผลให้ผู้เป็นเบาหวานเข้าใจถึงความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเองเพื่อลดความ
รุนแรงและความเสี่ยงของโรค คาดหวังให้เกิดการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ของผู้เป็นเบาหวานอย่างยั่งยืน รวมถึงลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคมุ่งสู่เบาหวานระยะสงบ
(Diabetes Remission) ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ประชาชน35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ดีและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้ดี
- ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงจากปีที่ผ่านมา
- เพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ชนิดที่ 2 เข้าสู่ระยะสงบ
- เพื่อให้กลุ่มผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกกรมที่ 1 กิจกรรมเตรียมความพร้อม
- กิจกรรมดำเนินงาน
- การติดตามประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
190
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป
3,000
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ทราบถึงสถานะสุขภาพของตนเองและได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรค
2.ประชาชนชนกลุ่มเสี่ยงมีได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถลดอัตราการเกิดโรค ในผู้ป่วยรายใหม่
3.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี
4.ร้อยละการเข้าสู่เบาหวานระยะสงบของผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 เป้าหมายอย่างน้อย 10 % ของผู่ป่วยรายใหม่
5.Hb1C < 6.5 % โดยไม่ใช่ยาเบาหวานมากกว่า 3 เดือน ( ติดตาม ครบ 1 ปี )
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ประชาชน35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
3000.00
2400.00
2
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรค
500.00
400.00
3
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ดีและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้ดี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ40และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันได้ดีร้อยละ60
700.00
350.00
4
ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงจากปีที่ผ่านมา
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลงร้อยละ20
30.00
6.00
5
เพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ชนิดที่ 2 เข้าสู่ระยะสงบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละการเข้าสู่เบาหวานระยะสงบของผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 เป้าหมายอย่างน้อย 10 % ของผู่ป่วยรายใหม่
3.00
2.00
6
เพื่อให้กลุ่มผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
ตัวชี้วัด : Hb1C < 6.5 % โดยไม่ใช่ยาเบาหวานมากกว่า 3 เดือน ( ติดตาม ครบ 1 ปี )
3.00
2.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
3690
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
190
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป
3,000
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชน35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ดีและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้ดี (4) ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงจากปีที่ผ่านมา (5) เพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ชนิดที่ 2 เข้าสู่ระยะสงบ (6) เพื่อให้กลุ่มผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกกรมที่ 1 กิจกรรมเตรียมความพร้อม (2) กิจกรรมดำเนินงาน (3) การติดตามประเมินผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-1-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวกัลยา คงสุด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 ”
พื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวกัลยา คงสุด
กันยายน 2568
ที่อยู่ พื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-1-12 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง รหัสโครงการ 68-L3312-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่มีอัตราป่วยเพิ่มมากขึ้นและเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้นอกจากปัจจัยทางกรรมพันธ์ุที่ส่งเสริมการเกิดโรคแล้วการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมทั้งด้านอาหารโดยรับประทานอาหารรสเค็มมันหวานขาดการออกกำลังกายมาีความเครียดสูงเรื้อรังดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่เป็นประจำนับว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดโรคดังกล่าวซึ่งร้อยละ50ของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานประเภทที่2สามารถป้องกันได้เบาหวานประเภทที่2ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในผู้ที่มีอายุมากแต่ในปัจจุบันจะพบมากขึ้นในคนอายุน้อยลงสำหรับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญได้แก่โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดสมองโรคไตเรื้อรังตาบอดปลายประสาทเสื่อมเกิดแผลเรื้อรังเป็นสาเหตุของการตัดเท้าซึ่งนำมาซึ่งความพิการและเสียชีวิตได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทองทำหน้าที่เป็นหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรคฟื้นฟูสุขภาพและให้บริการรักษาโรคเบื้องต้นในปี2567จำนวนประชากรกลุ่มอายุ35ปีขึ้นไปในเเขตรับผิดชอบกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด1,684คนได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานจำนวน1,632รายคิดเป็นร้อยละ96.91ผลการคัดกรองพบเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเบาหวานจำนวน378รายคิดเป็นร้อยละ23.16กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน18รายคิดเป็นร้อยละ1.10และพบผู้ป่วยรายใหม่จำนวน4รายคิดเป็นร้อยละ0.25และกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด1,453รายได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจำนวน1,394รายคิดเป็นร้อยละ95.94พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง216รายคิดเป็นร้อยละ15.49กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง272รายคิดเป็นร้อยละ19.51และพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน11รายคิดเป็นร้อยละ0.79 หากประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ด้านสุขภาพตระหนักในการดูแลสุขภาพเข้ารับการคัดกรองภาวะสุขภาพรวมทั้งมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมสามารถดูแลตนเองครอลครัวและชุมชนเพื่อลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รวมทั้งเมื่อเกิดการเจ็บป่วยได้รับการดูแลตั้งแต่เริ่มแรกได้รับการค้นหาภาวะแทรกซ้อนจะลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนและชะลอความรุนแรงของโรคได้ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และการจัดทำรูปแบบการจัดการโรคเบาหวานให้เข้าสู่ระยะสงบ (Diabetes Remission) จึงเป็นสิ่งสำคัญและสอดคล้องกับนโยบายชาติคือ คนไทยห่างไกลกับโรค NCDs เพื่อส่งเสริมให้ผู้เป็นเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง โดยใช้ข้อมูลที่เป็นจริง เพื่อเป็นแรงขับเคลื่อนในการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตจริงของแต่ละรายบุคคล โดยให้ผู้ป่วย ทำ Self-monitoring และบันทึกข้อมูลผ่าน Platform Analog และ Digital แพทย์ พยาบาลวิชาชีพ นักโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลจาก Platform และนำมา Counseling วางแผนการรักษาพยาบาลให้สอดคล้อง กับวิถีชีวิตของผู้เป็นเบาหวานแต่ละบุคคล และมีการติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่องผ่านระบบ Telemedicine พูดคุย สอบถามแนะนำทางโทรศัพท์ ลดการเดินทางมาโรงพยาบาลและประหยัดเวลาในการ รอคอย ส่งผลให้ผู้เป็นเบาหวานเข้าใจถึงความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเองเพื่อลดความ รุนแรงและความเสี่ยงของโรค คาดหวังให้เกิดการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ของผู้เป็นเบาหวานอย่างยั่งยืน รวมถึงลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคมุ่งสู่เบาหวานระยะสงบ (Diabetes Remission) ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ประชาชน35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ดีและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้ดี
- ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงจากปีที่ผ่านมา
- เพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ชนิดที่ 2 เข้าสู่ระยะสงบ
- เพื่อให้กลุ่มผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกกรมที่ 1 กิจกรรมเตรียมความพร้อม
- กิจกรรมดำเนินงาน
- การติดตามประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 190 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 500 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป | 3,000 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ทราบถึงสถานะสุขภาพของตนเองและได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรค
2.ประชาชนชนกลุ่มเสี่ยงมีได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถลดอัตราการเกิดโรค ในผู้ป่วยรายใหม่
3.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี
4.ร้อยละการเข้าสู่เบาหวานระยะสงบของผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 เป้าหมายอย่างน้อย 10 % ของผู่ป่วยรายใหม่
5.Hb1C < 6.5 % โดยไม่ใช่ยาเบาหวานมากกว่า 3 เดือน ( ติดตาม ครบ 1 ปี )
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ประชาชน35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง |
3000.00 | 2400.00 |
|
|
2 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรค |
500.00 | 400.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ดีและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้ดี ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ40และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันได้ดีร้อยละ60 |
700.00 | 350.00 |
|
|
4 | ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงจากปีที่ผ่านมา ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลงร้อยละ20 |
30.00 | 6.00 |
|
|
5 | เพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ชนิดที่ 2 เข้าสู่ระยะสงบ ตัวชี้วัด : ร้อยละการเข้าสู่เบาหวานระยะสงบของผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 เป้าหมายอย่างน้อย 10 % ของผู่ป่วยรายใหม่ |
3.00 | 2.00 |
|
|
6 | เพื่อให้กลุ่มผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ตัวชี้วัด : Hb1C < 6.5 % โดยไม่ใช่ยาเบาหวานมากกว่า 3 เดือน ( ติดตาม ครบ 1 ปี ) |
3.00 | 2.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 3690 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 190 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 500 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป | 3,000 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชน35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ดีและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้ดี (4) ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงจากปีที่ผ่านมา (5) เพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ชนิดที่ 2 เข้าสู่ระยะสงบ (6) เพื่อให้กลุ่มผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกกรมที่ 1 กิจกรรมเตรียมความพร้อม (2) กิจกรรมดำเนินงาน (3) การติดตามประเมินผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-1-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวกัลยา คงสุด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......