กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2568 ”
ตำบลกระแสสินธุ์ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางฐิตาภา โนภาส




ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลกระแสสินธุ์ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5162-1-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกระแสสินธุ์ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกระแสสินธุ์ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5162-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง นับเป็น ปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญ และนำมาซึ่งความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเอง ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรัง เป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ และยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่นๆ อีกมากมาย เช่นโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง สำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรค คือ กรรมพันธุ์ และ สิ่งแวดล้อม ในส่วนของกรรมพันธุ์นั้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีอายุมากขึ้น ขณะที่สิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยเสี่ยงที่เริ่มตั้งแต่ในครรภ์แม่ แม้กรรมพันธุ์จะเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ แต่ก็สามารถควบคุมปัจจัยเรื่องอาหาร และสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ จากผลของการวิจัยหลายชิ้น ชี้ให้เห็นว่า การควบคุมอาหารอย่างดี รวมไปถึงการออกกำลังกายเป็นประจำนั้นส่งผลโดยตรงต่อการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะผู้ที่มีความเสี่ยงสูงทางกรรมพันธุ์ อีกทั้งยังเป็นการควบคุมโรคเบาหวาน และ ป้องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆได้ จากข้อมูลอัตราการป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา ปี 2567 พบว่า มีผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมดจำนวน 235 คน ได้รับการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด HbA1C ทั้งหมด 193 คน คิดเป็นร้อยละ 83 และพบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 71 คน ที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ HbA1C มากกว่าหรือเท่ากับ 7 จำนวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 37ของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดทั้งหมดและพบว่าผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 339 คนไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้จำนวน 198 คน คิดเป็นร้อยละ 58.4 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด ผู้ป่วยเหล่านี้ หากไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้ในอนาคต การรักษาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยการให้ความสำคัญเฉพาะด้านการแพทย์ อาจจะไม่เพียงพอ เพื่อเป็นการควบคุมภาวะโรค และ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรม ผ่านกิจกรรมต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งถ้าปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขโดยปราศจากโรคแทรกซ้อนได้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกระแสสินธุ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเอง เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยได้จัดทำโครงการสร้างเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน โดยมุ่งเน้นในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ เสริมพลังการดูแลตนเองของผู้ป่วยโดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วย สามารถควบคุมโรคได้ ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กลุ่มที่ 1 - อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน(ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ค่าHbA1c≥8 ) ให้มีความรู้ มีพฤติกรรมการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในเรื่อง 3อ2ส ลดเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนทางตา ใต หัวใจ เท้า และ หลอดเลือดสมอง และการใช้ยาในผู้ป่วยอย่างถูกต้อง
  2. กลุ่มที่ 2 รุ่นที่ 1 (60คน) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ ( BP≥ 140/90 mmHg. อย่างน้อย 2 ครั้ง ในรอบ 6 เดือน ที่ผ่านมา)
  3. กลุ่มที่ 2 รุ่นที่ 2 (60คน) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ ( BP≥ 140/90 mmHg. อย่างน้อย 2 ครั้ง ในรอบ 6 เดือน ที่ผ่านมา)
  4. คัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ระดับความรู้ และ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ของกลุ่มเป้าหมาย มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 ประเมินจาก แบบสอบถามก่อน - หลัง 2. ผู้ป่วยเบาหวานกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80 สามารถควบคุมระดับ HbA1C ได้น้อยกว่า 7 3. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 70 สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กลุ่มที่ 1 - อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน(ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ค่าHbA1c≥8 ) ให้มีความรู้ มีพฤติกรรมการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในเรื่อง 3อ2ส ลดเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนทางตา ใต หัวใจ เท้า และ หลอดเลือดสมอง และการใช้ยาในผู้ป่วยอย่างถูกต้อง (2) กลุ่มที่  2 รุ่นที่ 1 (60คน) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ ( BP≥ 140/90 mmHg. อย่างน้อย 2 ครั้ง ในรอบ 6 เดือน ที่ผ่านมา) (3) กลุ่มที่  2  รุ่นที่ 2 (60คน) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ ( BP≥ 140/90 mmHg. อย่างน้อย 2 ครั้ง ในรอบ 6 เดือน ที่ผ่านมา) (4) คัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5162-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฐิตาภา โนภาส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด