กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยตำบลท่าน้ำ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอมล๊ะ เวาะลี




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยตำบลท่าน้ำ ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L2994-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 พฤษภาคม 2568 ถึง 28 พฤษภาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยตำบลท่าน้ำ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยตำบลท่าน้ำ ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยตำบลท่าน้ำ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L2994-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 พฤษภาคม 2568 - 28 พฤษภาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเสริมสร้างทุนสมองและพัฒนาระดับสติปัญญาในเด็กปฐมวัยเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการสร้างประชากรที่มีคุณภาพต่อประเทศชาติในอนาคต ช่วงเด็กปฐมภูมิเป็นช่วงสำคัญจำคัญต้องได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้อง เริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิ เจริญเติบโตอยู่ใดอยู่ในครรภ์ของมารดา เมื่อคลอดออกมาก็มีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย ๖ เดือน มีการเจริญเติบโตที่ดี มีพัฒนาการวัย และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี การสร้างเสริมพัฒนาการตั้งแต่ช่วงอาย ๒ ปีแรก สามารถพยากรณ์ระดับสติปัญญาของเด็กเมื่อเจริญเติบโดไปใต้ องค์การอนามัยโลกขี้ให้เห็น ๔ ปัจจัยที่สำคัญส่งผลต่อระดับสติปัญญาเด็ก ได้แก่ ธาตุเหล็ก ไอโอดีน ส่วนสูงของเด็ก และการเลี้ยงดู ดังนั้นโกชนาการที่ดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์จนถึงช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นช่วงวิกฤตของการพัฒนาสมองและการเจริญเติบโต การได้รับอาหารและ โภชนาการที่เหมาะสมในช่วงนี้จึงมีบทบาทสำทสำคัญต่อสุขภาพในระยะยาว นอกจากนั้นปัญหาทุพโภชนาการในสองปีแรกของชีวิต ทั้งอ้วนและผอม เป็นปัจจัยสำคัญที่ขัดขวางพัฒนาการและสติปัญญาของเด็ก ส่งผลให้เรียบรู้ช้า เฉื่อยขา สติปัญญาต่ำ ภูมิต้านทานโรค บกพร่อง ทำให้เจ็บป่วยบ่อย เป็นนานและรุนแรง ถ้าเด็กสูงตีสมส่วนก็จะมีระดับสติปัญญาที่แตกต่างจากเด็กที่เตี้ยและค่อนข้างเลี้ย ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ยังมีผลเสียเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ มีโอกาสที่จะเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น เช่น โรคเบาหวาน โรคความตันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคปอดเรื้อรัง และโรคมะเร็งในวัยผู้ใหญ่จากการสำรวจ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสุเหร่า พบว่า เด็ก ๐-๕ ปี จ้านวน ๒๕๖ คน มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ๘๔.๒๔ เด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ ๑๐..๙๖ ได้รับการติดตามกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการ ร้อยละ ๑๐๐๐๐ มีรูปร่างสูงตีสมส่วน ร้อยละ ๗๑.๙๑ มีพื้นผู้ ร้อยละ ๒๕๒๕.๐๐ พบภาวะชัด ร้อยละ ๕ และได้รับวัดขืนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ ๑ ปี, ๒ ปี, ๓ ปี และ ๕ ร้อยละ ๑๙๓.๙๕,๓๖,๖๓,b๐.๐๐,๒๕.๖๔ นอกจากนี้สาเหตุสำเหตุสำคัญของปัญหายังเกิดจากเด็กอายุ ๐๐๕ ปีไม่ได้การดูแลเฝ้าระวัง กระต้นและส่งเสริมพัฒนาการ ภาวะโกชนาการตามช่วงวัยอย่างเพียงพอและเหมาะสมทั้งจากครอบครัว ชุมชน รวมถึงหน่วยบริการที่ดูแลเด็กเหล่านี้อยู่ เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนระดับอนุบาล เป็นต้น ดังนั้นการเชื่อมประสานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องให้เข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนและให้มีการดูแล ส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา ช่วงการคลอด พ่อแม่ ผู้เสื้องดูเด็กปฐมวัยให้เกิดความรอบรู้และความตระหนักในการปฏิบัฏิบัติคนให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสมดามช่วงวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านโภชนาการ ทันตสุขภาพ การใต้รับวัดขึ้น การตรวจภาวะโลหิตจาง และพัฒนาการให้สามารถเฝ้าระวัง กระตุ้น ส่งเสริม แก้ไขปัญหาและบอกต่อกับผู้อื่นได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพดำบลตอนจึงทำโครงทำโครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยตำบลท่าน้ำปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ขึ้น โดยมุ่งหวังให้เกิดการดำเนินงานแก้ไขปัญหาในกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง มุ่งหวังให้เกิดมาตรการทางสังคมในการดูแลเด็ก เกิดผลลัพธ์ที่คาดหวังอย่างเป็นรูปธรรม คือ สตรีมีการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพ การคลอดที่ปลอดภัย รวมทั้งเด็กปฐปฐมวัยในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า มีสุขภาวะที่ รับวัคชีนครบพัฒนาการสมวัย สูงตีสมส่วน ไม่มีภาวะซีด และฟันดีไม่ผุ เป็นประชากรที่มีคุณภาพของประเทศต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับแกนนำชุมชนและผู้เกี่ยวข้องใน การดูแลสตรีและเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปีเด็ก
  2. 2.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับแกนนำชุมชนในระพับหมู่บ้าน ในการดูแลและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ เด็ก ปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. 3.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับสตรีตั้งครรภ์ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (เด็กมีสุขภาวะดี รับวัคชีนครบ พัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ไม่มีภาวะขีด และฟันดี ๓.ร้อยละ ๖๐ ของเด็ก ๐-๕ ปี ไม่ซีด ไม่ผุ)
  4. 4.เพื่อให้ทีมระดับตำบลติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ในกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย
  5. 5.เพื่อสร้างกระแส สร้างความตระหนักเรื่องของเด็ก Smart kids ให้แก่ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่แกนนำชุมชน (อสม.ผู้นำชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง) และผู้ปกครองผู้ดูแลเด็ก ด้านโภชนาการ พัฒนาการ ฟัน ภาวะซีด วัคซีน
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ สามีและญาติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับแกนนำชุมชนและผู้เกี่ยวข้องใน การดูแลสตรีและเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปีเด็ก
ตัวชี้วัด : โลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์น้อยกว่าร้อยละ ๑๔
0.00

 

2 2.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับแกนนำชุมชนในระพับหมู่บ้าน ในการดูแลและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ เด็ก ปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ฝากครรภ์คุณภาพ ร้อยละ ๗๕
0.00

 

3 3.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับสตรีตั้งครรภ์ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (เด็กมีสุขภาวะดี รับวัคชีนครบ พัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ไม่มีภาวะขีด และฟันดี ๓.ร้อยละ ๖๐ ของเด็ก ๐-๕ ปี ไม่ซีด ไม่ผุ)
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัย 1.ร้อยละ 50 ของเด็ก 0-6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว 2.ร้อยละ 66 ของเด็ก 0-5 ปี ผ่านเกณฑ์ สูงดีสมส่วน 3.ร้อยละ 60 ของเด็ก 0-5 ปี ไม่ซีด 4.ร้อยละ 85 ของเด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย 5.ร้อยละ 50 ของเด็ก 3 ปี ได้รับการตรวจฟัน 3. 4. 5.
0.00

 

4 4.เพื่อให้ทีมระดับตำบลติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ในกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 5.เพื่อสร้างกระแส สร้างความตระหนักเรื่องของเด็ก Smart kids ให้แก่ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับแกนนำชุมชนและผู้เกี่ยวข้องใน การดูแลสตรีและเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปีเด็ก (2) 2.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับแกนนำชุมชนในระพับหมู่บ้าน ในการดูแลและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ เด็ก ปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) 3.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับสตรีตั้งครรภ์ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (เด็กมีสุขภาวะดี รับวัคชีนครบ พัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ไม่มีภาวะขีด และฟันดี ๓.ร้อยละ ๖๐ ของเด็ก ๐-๕ ปี ไม่ซีด ไม่ผุ) (4) 4.เพื่อให้ทีมระดับตำบลติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ในกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (5) 5.เพื่อสร้างกระแส สร้างความตระหนักเรื่องของเด็ก Smart kids ให้แก่ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่แกนนำชุมชน (อสม.ผู้นำชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง) และผู้ปกครองผู้ดูแลเด็ก ด้านโภชนาการ พัฒนาการ ฟัน ภาวะซีด วัคซีน (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ สามีและญาติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยตำบลท่าน้ำ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L2994-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอมล๊ะ เวาะลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด