โกตาสวย ชุมชนยิ้ม ได้ด้วยการจัดการขยะ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โกตาสวย ชุมชนยิ้ม ได้ด้วยการจัดการขยะ ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มออมทรัพย์บ้านโกตา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โกตาสวย ชุมชนยิ้ม ได้ด้วยการจัดการขยะ
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โกตาสวย ชุมชนยิ้ม ได้ด้วยการจัดการขยะ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โกตาสวย ชุมชนยิ้ม ได้ด้วยการจัดการขยะ
บทคัดย่อ
โครงการโกตาสวย ชุมชนยิ้มได้ด้วยการจัดการขยะ โดยการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1.เพื่อลดอัตราการป่วยของประชาชนในชุมชน ด้วยโรคติดต่อในท้องถิ่นที่มีสาเหตุเกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
เพื่อสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ ปัญหาและการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเหมาะสม
เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
เพื่อสร้างแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
ผลการดำเนินโครงการพบว่า
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคัดเลือกแกนนำในชุมชน และจัดตั้งแกนนำ แบ่งบทบาทหน้าที่ ดังนี้
- ฝ่ายประสานงาน/ประชาสัมพันธ์
1. นายวิรัช โอมณี
2. นางร่มมาหวัน มินเด็น
3. นายราเชษฐ หวันสู
- ฝ่ายการเงินและบัญชี
- นางเรไร สันเจริญ
- นางรัชฎาพร หยังสู
- นางวไลพร หรหมแก้ว
- ฝ่ายปฏิคม/สถานที่
1. นายวีระยุทธ หลงหัน
2. นายเลาะ โซะติก
3. นางโสม หลีนุ่ม
4. นางนะดาห์ คลายนา
- ฝ่ายทั่วไป
1. นายยรรยง สง่า
2. นางสุมาลี ช้างชู
3. นางณัฐสิมา เร๊ะนุ้ย
4. เสาวลักษณ์ อุศมา
- ฝ่ายข้อมูลข่าวสาร
1. นางสาวนัฐวิสา ณะเตีย
2. นางสาวสุริยา สิทธิเวชผล
3. นางสาวถิรกานตร์ หลีเคราะห์
4. นายวีรวุฒิ หลงหัน
1.1 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 แบ่งบทบาทหน้าที่ วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวบรวมข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ครั้งที่ 2 และ 3 ออกแบบแบบสำรวจ ร่วมกันระดมความคิดเพื่อที่จะจัดทำแบบสำรวจเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชน
ครั้งที่ 4 ประชุมสรุปข้อมูลจากแบบสำรวจ
กิจกรรมที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูล/ชุมชน และหาแนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
2.1 จัดทำเวทีเปิดโครงการชี้แจงรายละเอียด วัตถุประสงค์ ให้ประชาชนในชุมชนทราบ พบว่าประชาชนในชุมชนให้ความสนใจเป็นอย่างมากโดยเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยร้อยละ 80 โดยสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยตามแนวคิด 3Rs ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้ำ (Reuse) และแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และยอมรับกับแนวทางการจัดการขยะของชุมชน พร้อมทั้งให้ความร่วมมือกับแกนนำในชุมชน เพื่อที่จะลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชนต่อไป
2.2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และที่สาธารณะ
กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในชุมชน จำนวน 308 คน การประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบก่อน – หลังอบรม จำนวน 14 ข้อ เกณฑ์การประเมินผล ดังนี้
คะแนน 1 – 5 ระดับต่ำ
คะแนน 6 – 10 ระดับปานกลาง
คะแนน 11 – 14 ระดับสูง
จากการประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการก่อนการอบรม พบว่า คะแนนของผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 61.36 ระดับสูง จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 25.97 และระดับต่ำ จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 12.67 และหลังจากผ่านการอบรม พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 85.06 ผ่านเกณฑ์การประเมิน อยู่ในระดับสูง ประชาชนส่วนใหญ่เข้าใจเพิ่มขึ้น
2.3 จัดทำธรรมนูญด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
อยากให้แนะนำความรู้ การจัดการขยะ แก่ครัวเรือนทุกครัวเรือน
จัดทำป้ายรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดการขยะ
สร้างข้อตกลง/วัฒนธรรมการจัดการขยะ เช่น การใช้ภาชนะ
จัดตั้งธนาคารออมขยะสำหรับเด็กในโรงเรียน
ทุกครัวเรือนต้องมีการคัดแยกขยะในครัวเรือนของตัวเองตามหลัก 3Rs
สร้างแรงจูงใจในการให้รางวัลครัวเรือนที่น่าอยู่ สะอาด ปลอดขยะ
สร้างสัญญาลักษณ์ บ่งชี้ (เขียว เหลือง แดง) ครัวเรือนจำกัดขยะ ตัดสิทธ์สวัสดิการของกลุ่มที่อยู่ในชุมชน
ให้ทุกครัวเรือนปฏิบัติตามข้อตกลงทุกประการ อย่างเคร่งครัด
ให้คณะกรรมการ/กลไกครัวเรือนการจัดการขยะในชุมชนและรายงานต่อที่ประชุมใหญ่ประจำปีๆ ละ 2 ครั้ง
กิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน
การสำรวจความรู้เกี่ยวกับมูลฝอยและการคัดแยกขยะ จากครัวเรือนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ แต่ข้อที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก คือ เกี่ยวกับการจัดหาถังขยะเป็นหน้าทื่ที่ทุกบ้านต้องจัดหาเอง ร้อยละ 35.06 ตอบว่าไม่ใช่เป็นหน้าที่ของประชาชน ซึ่งประชาชนส่วนหนึ่งยังคงเข้าใจผิด คิดว่าการจัดหาถังขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ
เจตคติต่อการจัดการมูลฝอยของประชาชนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วย ร้อยละ 52.60 ยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหามูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานราชการเท่านั้น และมีประชาชนร้อยละ 33.17 คิดว่าการคัดแยกมูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานรัฐ จะเห็นได้ว่าประชาชนยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับขยะและการคัดแยกขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ จึงทำให้ประชาชนขาดความตระหนักและไม่ได้มองว่าการแก้ไขปัญหาจริงๆ ต้องมาจากตนเองก่อน
พฤติกรรมการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ประชาชนไม่ได้นำตะกร้าหรือกระเป๋าผ้าไปใส่ของเมื่อไปซื้อของหรือจ่ายตลาด คิดเป็นร้อยละ 84.09 ไม่ได้นำถุงพลาสติก ถุงหูหิ้ว ที่ยังมีสภาพดีกลับมาใช้ซ้ำอีก ร้อยละ 35.06 และไม่ได้นำขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่เป็นประจำ ร้อยละ 61.69
จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมของประชาชนยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร เพราะมีความสะดวกสบายในการซื้อของต่างๆ ส่วนหนึ่งยังไม่คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาภายหลัง
จากข้อมูลส่วนที่ 6 การมีส่วนร่วมของประชาชนด้านการจัดการมูลฝอยจากครัวเรือนในชุมชน จำนวน308 ครัวเรือน ด้านที่ 1 การมีส่วนร่วมค้นหาสาเหตุของปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือการเสนอปัญหา สาเหตุของปัญหาในการจัดการมูลฝอยในชุมชนในที่ประชุม ร้อยละ 81.17 ด้านที่ 2 การมีส่วนร่วมวางแผนแก้ไขปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมรส่วนร่วมมากที่สุด คือ ให้ข้อมูลที่จำเป็นในการประชุมวางแผนขั้นตอนในการจัดการมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 80.84 การวางแผนจัดหาสิ่งของ เช่น อุปกรณ์ทำความสะอาด ถังขยะ เป็นต้น เพื่อแก้ไขปัญหามูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 และวางแผนรณรงค์การกำจัดมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 ด้านที่ 3 การดำเนินงานจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีส่วนร่วมกับ อบต. ในการเข้ารับการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย ร้อยละ 91.88 ด้านที่ 4 การรับผลประโยชน์ พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมาก คือ มีรายได้จากการนำมูลฝอยบางประเภทไปขาย ร้อยละ 78.57 สามารถติดต่อสื่อสารกับ อบต. ได้สะดวกขึ้น ร้อยละ 87.99 มีส่วนร่วมในการทำให้ชุมชนสะอาดเรียบร้อย ร้อยละ 81.17 และมีส่วนร่วมในการลดมลพิษในชุมชนให้น้อยลง ร้อยละ 84.74 ด้านที่ 5 การติดตามและประเมินผล พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ ได้รับทราบผลการประเมินผลการดำเนินงานการจัดการมูลฝอยในชุมชนของท่าน ร้อยละ 80.84
กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีประชาคมและประชาสัมพันธ์ แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน / พื้นที่สาธารณะ
จัดกิจกรรมคืนข้อมูลจากการสำรวจการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนหมู่ที่ 7 บ้านโกตา จำนวน 308 ครัวเรือน ได้แจ้งผลให้ประชาชนได้รับทราบเกี่ยวกับปัญหาขยะในชุมชน และสาเหตุของปัญหา เพื่อที่จะให้ทุกคนได้ร่วมกันแก้ไข และหาแนวทางเพื่อที่จะลดปริมาณขยะในชุมชน และทางคณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการขยะในชุมชนได้จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ กฎ กติกา ข้อตกลง ให้ประชาชนได้รับทราบและยึดถือปฏิบัติตาม เพื่อให้เป็นหมู่บ้านปลอดขยะ
กิจกรรมที่ 5 ติดตาม/ประเมินผล
การติดตามผลการจัดการขยะแต่ละครัวเรือน โดยการสุ่ม จำนวน 120 ครัวเรือนในชุมชน พบว่า พฤติกรรมการจัดการขยะมีการเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น จากการทิ้งเศษอาหารบริเวณบ้าน ก็ปรับเปลี่ยนมาทำเป็นถังขยะเปียก ร้อยละ 85.83 ทำน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ 79.17 ขยะบางประเภทขายให้กับร้านรับซื้อของเก่า ร้อยละ 91.67 ส่วนประเภทขยะอันตรายทิ้งลงถังขยะสีแดงที่ อบต.จัดให้ ร้อยละ 87.5 และขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งลงถัง อบต. จะเห็นได้ว่าประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชนกันมากขึ้น หลังจากมีการรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ประชาชนบางครัวเรือนเลิกใช้ถุงพลาสติก โดยใช้ถุงผ้าแทน แต่ก็ยังมีประชาชนที่ยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร สาเหตุเพราะมีความสะดวกสบาย แต่ไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมา อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนหลังจากดำเนินโครงการแล้วก็เป็นไปในทางที่ดีขึ้น ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการช่วยลดปริมาณขยะให้น้อยลง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
1. แกนนำชุมชนด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน ต้องมีการรณรงค์และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องให้ประชาชนได้รับทราบ และไม่ละเลยให้ครัวเรือนสามารถจัดการขยะของตนเองได้
2. ชุมชนร่วมกับโรงเรียนช่วยกันจัดการ/เก็บขยะในที่สาธารณะ อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญที่ทุกประเทศกำลังเผชิญและต้องทุ่มเททรัพยากรในการจัดการปัญหาดังกล่าว ปัญหาขยะมูลฝอยนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นเนื่องจากการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคม และเทคโนโลยี การขยายตัวทางเศรษฐกิจและการแข่งขันในอุตสาหกรรม ทำให้ผู้ผลิตพยายามพัฒนาสินค้ารูปแบบใหม่ๆ ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีความเป็นวัตถุนิยมมากขึ้นจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น การขยายตัวของประชากรและการอยู่อาศัยในเขตเมืองซึ่งเป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตที่ก่อให้เกิดปริมาณขยะมากกว่าการอาศัยอยู่ในชนบท ส่งผลให้ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปริมาณขยะในชุมชนเพิ่มมากขึ้นโดยขาดการจัดการที่เหมาะสมก่อให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ปัญหาขยะมูลฝอยก่อให้เกิดปัญหามลพิษต่อสิ่งแวดล้อมมากมาย ไม่ว่าจะเป็นปัญหามลพิษทางน้ำจากน้ำเสียที่รั่วไหลจากแหล่งเทกองขยะ หรือ ขยะที่ถูกฝังกลบอยู่ใต้ดิน ทำให้คุณภาพแหล่งน้ำผิวดิน และใต้ดินแย่ลง มลพิษทางดินที่เกิดจากการปนเปื้อนของน้ำชะขยะหรือสารเคมีลงสู่พื้นดินมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ นอกจากนั้นขยะมูลฝอยบางชนิดใช้ระยะเวลาย่อยสลายนาน หรือไม่ย่อยสลายและกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อมการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมายังไม่สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร อาจมาจากสาเหตุการไม่ให้ความสำคัญและความพร้อมต่อการแก้ไขปัญหาที่ยังไม่เพียงพอ รัฐบาลเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงได้กำหนดให้ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นวาระแห่งชาติ
ชุมชนบ้านโกตา มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 308 ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด 803 คน จากการสำรวจปริมาณขยะของชุมชน พบว่า มีปริมาณขยะมูลฝอย ประมาณ 2,500 กิโลกรัม/สัปดาห์ ซึ่งมาจากการดำรงชีวิตประจำวันของคนในชุมชนจึงเป็นภาระหนัก ในการบริหารจัดการขยะเหล่านั้น ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นมากมายทุกวัน ส่งผลให้มีขยะตกค้างบ้างซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนในชุมชนสภาพปัญหาที่เห็น คือ มีขยะมูลฝอยกระจายในที่ต่างๆ เช่น ริมถนน บริเวณที่สาธารณะ ทำให้ไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำโรคต่าง ๆ เช่น หนู แมลงสาบแมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ โรคไข้เลือดออก และสถานการณ์โรคในพื้นที่หมู่ที่ 7 ตั้งแต่ปี ๒๕๕5-๒๕๖๐ มีดังนี้ สถานการณ์ไข้เลือดออก จำนวน 25 ราย คิดอัตราป่วย 3.11 ต่อจำนวนประชากร,อุจาระร่วงจำนวน 40 ราย คิดอัตราป่วย 4.98 ต่อจำนวนประชากรจากการสังเกต สอบถาม และสำรวจข้อมูลเบื้องต้น พบว่าประชาชนในชุมชนบ้านโกตามีความรู้ ความเข้าใจการจัดการขยะที่ถูกต้องน้อยจึงทำให้มีปัญหาขยะเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น การจัดการขยะมูลฝอยจึงเป็นเรื่องที่สำคัญจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพราะปัญหาขยะมูลฝอยได้สะท้อนให้เห็นถึงสุขอนามัยภายในชุมชน เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดโรคและเพื่อให้การจัดการขยะมูลฝอยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นระบบ
จากปัญหาดังกล่าว ชุมชนจึงได้จัดทำโครงการเกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือนขึ้น เพื่อสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ และร่วมมือกันจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนอย่างเหมาะสมด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและตามแนวคิด3Rs ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้ำ (Reuse) และแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) โดยมุ่งเน้นการจัดการขยะที่ต้นทาง เพื่อการจัดการที่ยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อลดอัตราการป่วยของประชาชนในชุมชน ด้วยโรคติดต่อในท้องถิ่นที่มีสาเหตุเกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
- 2. เพื่อสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ ปัญหาและการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเหมาะสม
- 3. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
- 4. เพื่อสร้างแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดตั้งแกนนำหมู่บ้าน
- กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูล/ชุมชน และหาแนวทางจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
- กิจกรรมสำรวจข้อมูลการจัดการขยะในชุมชน
- กิจกรรมจัดเวทีประชาคมและประชาสัมพันธ์ แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
- กิจกรรมติดตาม/ประเมินผล
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีแกนนำหมู่บ้านในการวางแผน และดำเนินงานการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน
- ประชาชนรับรู้ เข้าใจ ปัญหาและการจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ
- บริเวณบ้านและบริเวณที่สาธารณะในชุมชนมีความสะอาด น่ามอง ไม่มีขยะตกค้างในชุมชน
- ปริมาณขยะมูลฝอยจากครัวเรือนมีปริมาณลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมจัดตั้งแกนนำหมู่บ้าน
วันที่ 3 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.1 คัดเลือกแกนนำชุมชน/จัดตั้งแกนนำชุมชน
1.2 จัดประชุมแกนนำชุมชน รวม 4 ครั้ง/ปี โดยมีรายละเอียดการประชุม ดังนี้
ประชุมครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่ วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวบรวมข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ประชุมครั้งที่ 2 และ 3 ออกแบบสำรวจข้อมูล ประชุมสรุปความก้าวหน้าการทำงานตามแผน เสนอปัญหาที่พบ และร่วมกันหาทางแก้ปัญหา หรือพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้น
ประชุมครั้งที่ 4 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินกิจกรรม
ได้วางแผนการดำเนินงานและได้คัดเลือกตัวแทนชุมชนเพื่อเป็นคณะทำงานในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน ได้แบ่งหน้าที่แต่ละฝ่าย แล้วประชุมออกแบบสอบถามเพื่อสำรวจข้อมูลการจัดการขยะของแต่ละครัวเรือน มอบหมายหน้าที่แกนนำลงพื้นที่สำรวจข้อมูลการจัดการขยะในครัวเรือน เพื่อวางแผนการดำเนินงานการบริหารจัดการขยะในชุมชนต่อไป
1.1 จัดประชุมคัดเลือกแกนนำในชุมชน และจัดตั้งแกนนำ แบบ่งบทบาทหน้าที่ ดังนี้
- ฝ่ายประสานงาน/ประชาสัมพันธ์
นายวิรัช โอมณี
นางร่มมาหวัน มินเด็น
นายราเชษฐ หวันสู
- ฝ่ายการเงินและบัญชี
นางเรไร สัญเจริญ
นางรัชฎาพร หยังสู
นางวไลพร พรหมแก้ว
- ฝ่ายปฏิคม/สถานที่
นายวีระยุทธ หลงหัน
นายเลาะ โซะติก
นางโสม หลีนุ่ม
นางนะดาห์ คลายนา
- ฝ่ายทั่วไป
นายยรรยง สง่า
นางสุมาลี ช้างชู
นางณัฐสิมา เร๊ะนุ้ย
นางเสาวลักษณ์ อุศมา
- ฝ่ายข้อมูลข่าวสาร
นางสาวนัฐวิสา ณะเตีย
นางสาวสุริยา สิทธิเวชผล
นางสาวถิรกานตร์ หลีเคราะห์
นายวีรวุฒิ หลงหัน
1.2 จัดประชุมแกนนำชุมชน รวม 4 ครั้ง/ปี โดยมีรายละเอียดการประชุม ดังนี้
ประชุมครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่ วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวบรวมข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ประชุมครั้งที่ 2 และ 3 ออกแบบสำรวจข้อมูล ประชุมสรุปความก้าวหน้าการทำงานตามแผน เสนอปัญหาที่พบ และร่วมกันหาทางแก้ปัญหา หรือพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้น
ประชุมครั้งที่ 4 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
18
0
2. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมสำรวจข้อมูลการจัดการขยะในชุมชน
วันที่ 1 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
เก็บข้อมูลการจัดการขยะในครัวเรือนก่อนดำเนินโครงการ
รวบรวมข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูล/สรุปผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน
การสำรวจความรู้เกี่ยวกับมูลฝอยและการคัดแยกขยะ จากครัวเรือนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ แต่ข้อที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก คือ เกี่ยวกับการจัดหาถังขยะเป็นหน้าทื่ที่ทุกบ้านต้องจัดหาเอง ร้อยละ 35.06 ตอบว่าไม่ใช่เป็นหน้าที่ของประชาชน ซึ่งประชาชนส่วนหนึ่งยังคงเข้าใจผิด คิดว่าการจัดหาถังขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ
เจตคติต่อการจัดการมูลฝอยของประชาชนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วย ร้อยละ 52.60 ยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหามูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานราชการเท่านั้น และมีประชาชนร้อยละ 33.17 คิดว่าการคัดแยกมูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานรัฐ จะเห็นได้ว่าประชาชนยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับขยะและการคัดแยกขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ จึงทำให้ประชาชนขาดความตระหนักและไม่ได้มองว่าการแก้ไขปัญหาจริงๆ ต้องมาจากตนเองก่อน
พฤติกรรมการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ประชาชนไม่ได้นำตะกร้าหรือกระเป๋าผ้าไปใส่ของเมื่อไปซื้อของหรือจ่ายตลาด คิดเป็นร้อยละ 84.09 ไม่ได้นำถุงพลาสติก ถุงหูหิ้ว ที่ยังมีสภาพดีกลับมาใช้ซ้ำอีก ร้อยละ 35.06 และไม่ได้นำขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่เป็นประจำ ร้อยละ 61.69<br />
จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมของประชาชนยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร เพราะมีความสะดวกสบายในการซื้อของต่างๆ ส่วนหนึ่งยังไม่คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาภายหลัง
จากข้อมูลส่วนที่ 6 การมีส่วนร่วมของประชาชนด้านการจัดการมูลฝอยจากครัวเรือนในชุมชน จำนวน308 ครัวเรือน ด้านที่ 1 การมีส่วนร่วมค้นหาสาเหตุของปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือการเสนอปัญหา สาเหตุของปัญหาในการจัดการมูลฝอยในชุมชนในที่ประชุม ร้อยละ 81.17 ด้านที่ 2 การมีส่วนร่วมวางแผนแก้ไขปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมรส่วนร่วมมากที่สุด คือ ให้ข้อมูลที่จำเป็นในการประชุมวางแผนขั้นตอนในการจัดการมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 80.84 การวางแผนจัดหาสิ่งของ เช่น อุปกรณ์ทำความสะอาด ถังขยะ เป็นต้น เพื่อแก้ไขปัญหามูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 และวางแผนรณรงค์การกำจัดมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 ด้านที่ 3 การดำเนินงานจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีส่วนร่วมกับ อบต. ในการเข้ารับการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย ร้อยละ 91.88 ด้านที่ 4 การรับผลประโยชน์ พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมาก คือ มีรายได้จากการนำมูลฝอยบางประเภทไปขาย ร้อยละ 78.57 สามารถติดต่อสื่อสารกับ อบต. ได้สะดวกขึ้น ร้อยละ 87.99 มีส่วนร่วมในการทำให้ชุมชนสะอาดเรียบร้อย ร้อยละ 81.17 และมีส่วนร่วมในการลดมลพิษในชุมชนให้น้อยลง ร้อยละ 84.74 ด้านที่ 5 การติดตามและประเมินผล พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ ได้รับทราบผลการประเมินผลการดำเนินงานการจัดการมูลฝอยในชุมชนของท่าน ร้อยละ 80.84
308
0
3. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูล/ชุมชน และหาแนวทางจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
วันที่ 11 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดทำเวทีเปิดโครงการชี้แจงรายละเอียดให้ประชาชนในชุมชนทราบ
ชี้แจงวัตถุประสงค์และความเป็นมาของโครงการ
3.สร้างการรับรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยให้แก่ประชาชนตามแนวคิด 3Rs ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) และการแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycle)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูล/ชุมชน และหาแนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
2.1 จัดทำเวทีเปิดโครงการชี้แจงรายละเอียด วัตถุประสงค์ ให้ประชาชนในชุมชนทราบ พบว่าประชาชนในชุมชนให้ความสนใจเป็นอย่างมากโดยเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยร้อยละ 80 โดยสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยตามแนวคิด 3Rs ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้ำ (Reuse) และแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และยอมรับกับแนวทางการจัดการขยะของชุมชน พร้อมทั้งให้ความร่วมมือกับแกนนำในชุมชน เพื่อที่จะลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชนต่อไป<br />
2.2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และที่สาธารณะ
กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในชุมชน จำนวน 308 คน การประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบก่อน – หลังอบรม จำนวน 14 ข้อ เกณฑ์การประเมินผล ดังนี้
คะแนน 1 – 5 ระดับต่ำ
คะแนน 6 – 10 ระดับปานกลาง
คะแนน 11 – 14 ระดับสูง
จากการประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการก่อนการอบรม พบว่า คะแนนของผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 61.36 ระดับสูง จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 25.97 และระดับต่ำ จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 12.67 และหลังจากผ่านการอบรม พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 85.06 ผ่านเกณฑ์การประเมิน อยู่ในระดับสูง ประชาชนส่วนใหญ่เข้าใจเพิ่มขึ้น<br />
2.3 จัดทำธรรมนูญด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
อยากให้แนะนำความรู้ การจัดการขยะ แก่ครัวเรือนทุกครัวเรือน
จัดทำป้ายรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดการขยะ
สร้างข้อตกลง/วัฒนธรรมการจัดการขยะ เช่น การใช้ภาชนะ
จัดตั้งธนาคารออมขยะสำหรับเด็กในโรงเรียน
ทุกครัวเรือนต้องมีการคัดแยกขยะในครัวเรือนของตัวเองตามหลัก 3Rs
สร้างแรงจูงใจในการให้รางวัลครัวเรือนที่น่าอยู่ สะอาด ปลอดขยะ
สร้างสัญญาลักษณ์ บ่งชี้ (เขียว เหลือง แดง) ครัวเรือนจำกัดขยะ ตัดสิทธ์สวัสดิการของกลุ่มที่อยู่ในชุมชน
ให้ทุกครัวเรือนปฏิบัติตามข้อตกลงทุกประการ อย่างเคร่งครัด
ให้คณะกรรมการ/กลไกครัวเรือนการจัดการขยะในชุมชนและรายงานต่อที่ประชุมใหญ่ประจำปีๆ ละ 2 ครั้ง
308
0
4. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมจัดเวทีประชาคมและประชาสัมพันธ์ แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
วันที่ 3 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
คืนข้อมูล (นำเสนอข้อมูลทั่วไป สถานการณ์ขยะมูลฝอย ข้อมูลการจัดการขยะจากการสำรวจ)
ร่วมวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหา/กำหนดกติกาการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
ออกแบบการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
จัดทำ/ติดป้ายประชาสัมพันธ์แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ กฎ กติกา ข้อตกลงในการจัดการขยะ
จัดกิจกรรมรณรงค์ Big Cleaning Day ในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีประชาคมและประชาสัมพันธ์ แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน / พื้นที่สาธารณะ
จัดกิจกรรมคืนข้อมูลจากการสำรวจการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนหมู่ที่ 7 บ้านโกตา จำนวน 308 ครัวเรือน ได้แจ้งผลให้ประชาชนได้รับทราบเกี่ยวกับปัญหาขยะในชุมชน และสาเหตุของปัญหา เพื่อที่จะให้ทุกคนได้ร่วมกันแก้ไข และหาแนวทางเพื่อที่จะลดปริมาณขยะในชุมชน และทางคณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการขยะในชุมชนได้จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ กฎ กติกา ข้อตกลง ให้ประชาชนได้รับทราบและยึดถือปฏิบัติตาม เพื่อให้เป็นหมู่บ้านปลอดขยะ
308
0
5. กิจกรรมที่ 5 ติดตาม/ประเมินผล
วันที่ 1 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ติดตาม เก็บข้อมูลการจัดการขยะในครัวเรือนหลังดำเนินโครงการ
สุ่มครัวเรือนในชุมชน จำนวน 120 ครัวเรือน เพื่อดูการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแต่ละครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 5 ติดตาม/ประเมินผล
การติดตามผลการจัดการขยะแต่ละครัวเรือน โดยการสุ่ม จำนวน 120 ครัวเรือนในชุมชน พบว่า พฤติกรรมการจัดการขยะมีการเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น จากการทิ้งเศษอาหารบริเวณบ้าน ก็ปรับเปลี่ยนมาทำเป็นถังขยะเปียก ร้อยละ 85.83 ทำน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ 79.17 ขยะบางประเภทขายให้กับร้านรับซื้อของเก่า ร้อยละ 91.67 ส่วนประเภทขยะอันตรายทิ้งลงถังขยะสีแดงที่ อบต.จัดให้ ร้อยละ 87.5 และขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งลงถัง อบต. จะเห็นได้ว่าประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชนกันมากขึ้น หลังจากมีการรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ประชาชนบางครัวเรือนเลิกใช้ถุงพลาสติก โดยใช้ถุงผ้าแทน แต่ก็ยังมีประชาชนที่ยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร สาเหตุเพราะมีความสะดวกสบาย แต่ไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมา อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนหลังจากดำเนินโครงการแล้วก็เป็นไปในทางที่ดีขึ้น ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการช่วยลดปริมาณขยะให้น้อยลง
308
0
6. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดทำรูปเล่มสรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีรูปเล่มสรุปผลการดำเนินงาน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคัดเลือกแกนนำในชุมชน และจัดตั้งแกนนำ แบ่งบทบาทหน้าที่ ดังนี้
- ฝ่ายประสานงาน/ประชาสัมพันธ์
- นายวิรัช โอมณี
- นางร่มมาหวัน มินเด็น
- นายราเชษฐ หวันสู
- ฝ่ายการเงินและบัญชี
- นางเรไร สันเจริญ
- นางรัชฎาพร หยังสู
- นางวไลพร หรหมแก้ว
- ฝ่ายปฏิคม/สถานที่
- นายวีระยุทธ หลงหัน
- นายเลาะ โซะติก
- นางโสม หลีนุ่ม
- นางนะดาห์ คลายนา
- ฝ่ายทั่วไป
- นายยรรยง สง่า
- นางสุมาลี ช้างชู
- นางณัฐสิมา เร๊ะนุ้ย
- เสาวลักษณ์ อุศมา
- ฝ่ายข้อมูลข่าวสาร
1. นางสาวนัฐวิสา ณะเตีย
2. นางสาวสุริยา สิทธิเวชผล
3. นางสาวถิรกานตร์ หลีเคราะห์
4. นายวีรวุฒิ หลงหัน
1.1 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 แบ่งบทบาทหน้าที่ วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวบรวมข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ครั้งที่ 2 และ 3 ออกแบบแบบสำรวจ ร่วมกันระดมความคิดเพื่อที่จะจัดทำแบบสำรวจเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชน
ครั้งที่ 4 ประชุมสรุปข้อมูลจากแบบสำรวจ
กิจกรรมที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูล/ชุมชน และหาแนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
2.1 จัดทำเวทีเปิดโครงการชี้แจงรายละเอียด วัตถุประสงค์ ให้ประชาชนในชุมชนทราบ พบว่าประชาชนในชุมชนให้ความสนใจเป็นอย่างมากโดยเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยร้อยละ 80 โดยสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยตามแนวคิด 3Rs ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้ำ (Reuse) และแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และยอมรับกับแนวทางการจัดการขยะของชุมชน พร้อมทั้งให้ความร่วมมือกับแกนนำในชุมชน เพื่อที่จะลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชนต่อไป
2.2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และที่สาธารณะ
กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในชุมชน จำนวน 308 คน การประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบก่อน – หลังอบรม จำนวน 14 ข้อ เกณฑ์การประเมินผล ดังนี้
คะแนน 1 – 5 ระดับต่ำ
คะแนน 6 – 10 ระดับปานกลาง
คะแนน 11 – 14 ระดับสูง
จากการประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการก่อนการอบรม พบว่า คะแนนของผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 61.36 ระดับสูง จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 25.97 และระดับต่ำ จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 12.67 และหลังจากผ่านการอบรม พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 85.06 ผ่านเกณฑ์การประเมิน อยู่ในระดับสูง ประชาชนส่วนใหญ่เข้าใจเพิ่มขึ้น
2.3 จัดทำธรรมนูญด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
อยากให้แนะนำความรู้ การจัดการขยะ แก่ครัวเรือนทุกครัวเรือน
จัดทำป้ายรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดการขยะ
สร้างข้อตกลง/วัฒนธรรมการจัดการขยะ เช่น การใช้ภาชนะ
จัดตั้งธนาคารออมขยะสำหรับเด็กในโรงเรียน
ทุกครัวเรือนต้องมีการคัดแยกขยะในครัวเรือนของตัวเองตามหลัก 3Rs
สร้างแรงจูงใจในการให้รางวัลครัวเรือนที่น่าอยู่ สะอาด ปลอดขยะ
สร้างสัญญาลักษณ์ บ่งชี้ (เขียว เหลือง แดง) ครัวเรือนจำกัดขยะ ตัดสิทธ์สวัสดิการของกลุ่มที่อยู่ในชุมชน
ให้ทุกครัวเรือนปฏิบัติตามข้อตกลงทุกประการ อย่างเคร่งครัด
ให้คณะกรรมการ/กลไกครัวเรือนการจัดการขยะในชุมชนและรายงานต่อที่ประชุมใหญ่ประจำปีๆ ละ 2 ครั้ง
กิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน
การสำรวจความรู้เกี่ยวกับมูลฝอยและการคัดแยกขยะ จากครัวเรือนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ แต่ข้อที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก คือ เกี่ยวกับการจัดหาถังขยะเป็นหน้าทื่ที่ทุกบ้านต้องจัดหาเอง ร้อยละ 35.06 ตอบว่าไม่ใช่เป็นหน้าที่ของประชาชน ซึ่งประชาชนส่วนหนึ่งยังคงเข้าใจผิด คิดว่าการจัดหาถังขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ
เจตคติต่อการจัดการมูลฝอยของประชาชนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วย ร้อยละ 52.60 ยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหามูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานราชการเท่านั้น และมีประชาชนร้อยละ 33.17 คิดว่าการคัดแยกมูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานรัฐ จะเห็นได้ว่าประชาชนยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับขยะและการคัดแยกขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ จึงทำให้ประชาชนขาดความตระหนักและไม่ได้มองว่าการแก้ไขปัญหาจริงๆ ต้องมาจากตนเองก่อน
พฤติกรรมการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ประชาชนไม่ได้นำตะกร้าหรือกระเป๋าผ้าไปใส่ของเมื่อไปซื้อของหรือจ่ายตลาด คิดเป็นร้อยละ 84.09 ไม่ได้นำถุงพลาสติก ถุงหูหิ้ว ที่ยังมีสภาพดีกลับมาใช้ซ้ำอีก ร้อยละ 35.06 และไม่ได้นำขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่เป็นประจำ ร้อยละ 61.69
จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมของประชาชนยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร เพราะมีความสะดวกสบายในการซื้อของต่างๆ ส่วนหนึ่งยังไม่คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาภายหลัง
จากข้อมูลส่วนที่ 6 การมีส่วนร่วมของประชาชนด้านการจัดการมูลฝอยจากครัวเรือนในชุมชน จำนวน308 ครัวเรือน ด้านที่ 1 การมีส่วนร่วมค้นหาสาเหตุของปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือการเสนอปัญหา สาเหตุของปัญหาในการจัดการมูลฝอยในชุมชนในที่ประชุม ร้อยละ 81.17 ด้านที่ 2 การมีส่วนร่วมวางแผนแก้ไขปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมรส่วนร่วมมากที่สุด คือ ให้ข้อมูลที่จำเป็นในการประชุมวางแผนขั้นตอนในการจัดการมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 80.84 การวางแผนจัดหาสิ่งของ เช่น อุปกรณ์ทำความสะอาด ถังขยะ เป็นต้น เพื่อแก้ไขปัญหามูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 และวางแผนรณรงค์การกำจัดมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 ด้านที่ 3 การดำเนินงานจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีส่วนร่วมกับ อบต. ในการเข้ารับการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย ร้อยละ 91.88 ด้านที่ 4 การรับผลประโยชน์ พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมาก คือ มีรายได้จากการนำมูลฝอยบางประเภทไปขาย ร้อยละ 78.57 สามารถติดต่อสื่อสารกับ อบต. ได้สะดวกขึ้น ร้อยละ 87.99 มีส่วนร่วมในการทำให้ชุมชนสะอาดเรียบร้อย ร้อยละ 81.17 และมีส่วนร่วมในการลดมลพิษในชุมชนให้น้อยลง ร้อยละ 84.74 ด้านที่ 5 การติดตามและประเมินผล พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ ได้รับทราบผลการประเมินผลการดำเนินงานการจัดการมูลฝอยในชุมชนของท่าน ร้อยละ 80.84
กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีประชาคมและประชาสัมพันธ์ แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน / พื้นที่สาธารณะ
จัดกิจกรรมคืนข้อมูลจากการสำรวจการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนหมู่ที่ 7 บ้านโกตา จำนวน 308 ครัวเรือน ได้แจ้งผลให้ประชาชนได้รับทราบเกี่ยวกับปัญหาขยะในชุมชน และสาเหตุของปัญหา เพื่อที่จะให้ทุกคนได้ร่วมกันแก้ไข และหาแนวทางเพื่อที่จะลดปริมาณขยะในชุมชน และทางคณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการขยะในชุมชนได้จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ กฎ กติกา ข้อตกลง ให้ประชาชนได้รับทราบและยึดถือปฏิบัติตาม เพื่อให้เป็นหมู่บ้านปลอดขยะ
กิจกรรมที่ 5 ติดตาม/ประเมินผล
การติดตามผลการจัดการขยะแต่ละครัวเรือน โดยการสุ่ม จำนวน 120 ครัวเรือนในชุมชน พบว่า พฤติกรรมการจัดการขยะมีการเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น จากการทิ้งเศษอาหารบริเวณบ้าน ก็ปรับเปลี่ยนมาทำเป็นถังขยะเปียก ร้อยละ 85.83 ทำน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ 79.17 ขยะบางประเภทขายให้กับร้านรับซื้อของเก่า ร้อยละ 91.67 ส่วนประเภทขยะอันตรายทิ้งลงถังขยะสีแดงที่ อบต.จัดให้ ร้อยละ 87.5 และขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งลงถัง อบต. จะเห็นได้ว่าประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชนกันมากขึ้น หลังจากมีการรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ประชาชนบางครัวเรือนเลิกใช้ถุงพลาสติก โดยใช้ถุงผ้าแทน แต่ก็ยังมีประชาชนที่ยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร สาเหตุเพราะมีความสะดวกสบาย แต่ไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมา อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนหลังจากดำเนินโครงการแล้วก็เป็นไปในทางที่ดีขึ้น ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการช่วยลดปริมาณขยะให้น้อยลง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อลดอัตราการป่วยของประชาชนในชุมชน ด้วยโรคติดต่อในท้องถิ่นที่มีสาเหตุเกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : 1.อัตราการป่วยของประชาชนในชุมชนที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค มีอัตราการป่วยลดลง
ร้อยละ 80
0.00
2
2. เพื่อสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ ปัญหาและการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80มีความรู้และมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย
0.00
0.00
3
3. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
2. มีธรรมนูญด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
3. ประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ได้รับรู้ข้อมูลด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
0.00
0.00
4
4. เพื่อสร้างแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
ตัวชี้วัด : 1. เกิดกลุ่มแกนนำในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
0.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
308
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
308
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการโกตาสวย ชุมชนยิ้มได้ด้วยการจัดการขยะ โดยการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1.เพื่อลดอัตราการป่วยของประชาชนในชุมชน ด้วยโรคติดต่อในท้องถิ่นที่มีสาเหตุเกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
เพื่อสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ ปัญหาและการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเหมาะสม
เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
เพื่อสร้างแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
ผลการดำเนินโครงการพบว่า
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคัดเลือกแกนนำในชุมชน และจัดตั้งแกนนำ แบ่งบทบาทหน้าที่ ดังนี้
- ฝ่ายประสานงาน/ประชาสัมพันธ์
1. นายวิรัช โอมณี
2. นางร่มมาหวัน มินเด็น
3. นายราเชษฐ หวันสู
- ฝ่ายการเงินและบัญชี
- นางเรไร สันเจริญ
- นางรัชฎาพร หยังสู
- นางวไลพร หรหมแก้ว
- ฝ่ายปฏิคม/สถานที่
1. นายวีระยุทธ หลงหัน
2. นายเลาะ โซะติก
3. นางโสม หลีนุ่ม
4. นางนะดาห์ คลายนา
- ฝ่ายทั่วไป
1. นายยรรยง สง่า
2. นางสุมาลี ช้างชู
3. นางณัฐสิมา เร๊ะนุ้ย
4. เสาวลักษณ์ อุศมา
- ฝ่ายข้อมูลข่าวสาร
1. นางสาวนัฐวิสา ณะเตีย
2. นางสาวสุริยา สิทธิเวชผล
3. นางสาวถิรกานตร์ หลีเคราะห์
4. นายวีรวุฒิ หลงหัน
1.1 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 แบ่งบทบาทหน้าที่ วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวบรวมข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ครั้งที่ 2 และ 3 ออกแบบแบบสำรวจ ร่วมกันระดมความคิดเพื่อที่จะจัดทำแบบสำรวจเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชน
ครั้งที่ 4 ประชุมสรุปข้อมูลจากแบบสำรวจ
กิจกรรมที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูล/ชุมชน และหาแนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
2.1 จัดทำเวทีเปิดโครงการชี้แจงรายละเอียด วัตถุประสงค์ ให้ประชาชนในชุมชนทราบ พบว่าประชาชนในชุมชนให้ความสนใจเป็นอย่างมากโดยเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยร้อยละ 80 โดยสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยตามแนวคิด 3Rs ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้ำ (Reuse) และแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และยอมรับกับแนวทางการจัดการขยะของชุมชน พร้อมทั้งให้ความร่วมมือกับแกนนำในชุมชน เพื่อที่จะลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชนต่อไป
2.2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และที่สาธารณะ
กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในชุมชน จำนวน 308 คน การประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบก่อน – หลังอบรม จำนวน 14 ข้อ เกณฑ์การประเมินผล ดังนี้
คะแนน 1 – 5 ระดับต่ำ
คะแนน 6 – 10 ระดับปานกลาง
คะแนน 11 – 14 ระดับสูง
จากการประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการก่อนการอบรม พบว่า คะแนนของผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 61.36 ระดับสูง จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 25.97 และระดับต่ำ จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 12.67 และหลังจากผ่านการอบรม พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 85.06 ผ่านเกณฑ์การประเมิน อยู่ในระดับสูง ประชาชนส่วนใหญ่เข้าใจเพิ่มขึ้น
2.3 จัดทำธรรมนูญด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
อยากให้แนะนำความรู้ การจัดการขยะ แก่ครัวเรือนทุกครัวเรือน
จัดทำป้ายรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดการขยะ
สร้างข้อตกลง/วัฒนธรรมการจัดการขยะ เช่น การใช้ภาชนะ
จัดตั้งธนาคารออมขยะสำหรับเด็กในโรงเรียน
ทุกครัวเรือนต้องมีการคัดแยกขยะในครัวเรือนของตัวเองตามหลัก 3Rs
สร้างแรงจูงใจในการให้รางวัลครัวเรือนที่น่าอยู่ สะอาด ปลอดขยะ
สร้างสัญญาลักษณ์ บ่งชี้ (เขียว เหลือง แดง) ครัวเรือนจำกัดขยะ ตัดสิทธ์สวัสดิการของกลุ่มที่อยู่ในชุมชน
ให้ทุกครัวเรือนปฏิบัติตามข้อตกลงทุกประการ อย่างเคร่งครัด
ให้คณะกรรมการ/กลไกครัวเรือนการจัดการขยะในชุมชนและรายงานต่อที่ประชุมใหญ่ประจำปีๆ ละ 2 ครั้ง
กิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน
การสำรวจความรู้เกี่ยวกับมูลฝอยและการคัดแยกขยะ จากครัวเรือนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ แต่ข้อที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก คือ เกี่ยวกับการจัดหาถังขยะเป็นหน้าทื่ที่ทุกบ้านต้องจัดหาเอง ร้อยละ 35.06 ตอบว่าไม่ใช่เป็นหน้าที่ของประชาชน ซึ่งประชาชนส่วนหนึ่งยังคงเข้าใจผิด คิดว่าการจัดหาถังขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ
เจตคติต่อการจัดการมูลฝอยของประชาชนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วย ร้อยละ 52.60 ยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหามูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานราชการเท่านั้น และมีประชาชนร้อยละ 33.17 คิดว่าการคัดแยกมูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานรัฐ จะเห็นได้ว่าประชาชนยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับขยะและการคัดแยกขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ จึงทำให้ประชาชนขาดความตระหนักและไม่ได้มองว่าการแก้ไขปัญหาจริงๆ ต้องมาจากตนเองก่อน
พฤติกรรมการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ประชาชนไม่ได้นำตะกร้าหรือกระเป๋าผ้าไปใส่ของเมื่อไปซื้อของหรือจ่ายตลาด คิดเป็นร้อยละ 84.09 ไม่ได้นำถุงพลาสติก ถุงหูหิ้ว ที่ยังมีสภาพดีกลับมาใช้ซ้ำอีก ร้อยละ 35.06 และไม่ได้นำขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่เป็นประจำ ร้อยละ 61.69
จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมของประชาชนยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร เพราะมีความสะดวกสบายในการซื้อของต่างๆ ส่วนหนึ่งยังไม่คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาภายหลัง
จากข้อมูลส่วนที่ 6 การมีส่วนร่วมของประชาชนด้านการจัดการมูลฝอยจากครัวเรือนในชุมชน จำนวน308 ครัวเรือน ด้านที่ 1 การมีส่วนร่วมค้นหาสาเหตุของปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือการเสนอปัญหา สาเหตุของปัญหาในการจัดการมูลฝอยในชุมชนในที่ประชุม ร้อยละ 81.17 ด้านที่ 2 การมีส่วนร่วมวางแผนแก้ไขปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมรส่วนร่วมมากที่สุด คือ ให้ข้อมูลที่จำเป็นในการประชุมวางแผนขั้นตอนในการจัดการมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 80.84 การวางแผนจัดหาสิ่งของ เช่น อุปกรณ์ทำความสะอาด ถังขยะ เป็นต้น เพื่อแก้ไขปัญหามูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 และวางแผนรณรงค์การกำจัดมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 ด้านที่ 3 การดำเนินงานจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีส่วนร่วมกับ อบต. ในการเข้ารับการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย ร้อยละ 91.88 ด้านที่ 4 การรับผลประโยชน์ พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมาก คือ มีรายได้จากการนำมูลฝอยบางประเภทไปขาย ร้อยละ 78.57 สามารถติดต่อสื่อสารกับ อบต. ได้สะดวกขึ้น ร้อยละ 87.99 มีส่วนร่วมในการทำให้ชุมชนสะอาดเรียบร้อย ร้อยละ 81.17 และมีส่วนร่วมในการลดมลพิษในชุมชนให้น้อยลง ร้อยละ 84.74 ด้านที่ 5 การติดตามและประเมินผล พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ ได้รับทราบผลการประเมินผลการดำเนินงานการจัดการมูลฝอยในชุมชนของท่าน ร้อยละ 80.84
กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีประชาคมและประชาสัมพันธ์ แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน / พื้นที่สาธารณะ
จัดกิจกรรมคืนข้อมูลจากการสำรวจการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนหมู่ที่ 7 บ้านโกตา จำนวน 308 ครัวเรือน ได้แจ้งผลให้ประชาชนได้รับทราบเกี่ยวกับปัญหาขยะในชุมชน และสาเหตุของปัญหา เพื่อที่จะให้ทุกคนได้ร่วมกันแก้ไข และหาแนวทางเพื่อที่จะลดปริมาณขยะในชุมชน และทางคณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการขยะในชุมชนได้จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ กฎ กติกา ข้อตกลง ให้ประชาชนได้รับทราบและยึดถือปฏิบัติตาม เพื่อให้เป็นหมู่บ้านปลอดขยะ
กิจกรรมที่ 5 ติดตาม/ประเมินผล
การติดตามผลการจัดการขยะแต่ละครัวเรือน โดยการสุ่ม จำนวน 120 ครัวเรือนในชุมชน พบว่า พฤติกรรมการจัดการขยะมีการเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น จากการทิ้งเศษอาหารบริเวณบ้าน ก็ปรับเปลี่ยนมาทำเป็นถังขยะเปียก ร้อยละ 85.83 ทำน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ 79.17 ขยะบางประเภทขายให้กับร้านรับซื้อของเก่า ร้อยละ 91.67 ส่วนประเภทขยะอันตรายทิ้งลงถังขยะสีแดงที่ อบต.จัดให้ ร้อยละ 87.5 และขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งลงถัง อบต. จะเห็นได้ว่าประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชนกันมากขึ้น หลังจากมีการรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ประชาชนบางครัวเรือนเลิกใช้ถุงพลาสติก โดยใช้ถุงผ้าแทน แต่ก็ยังมีประชาชนที่ยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร สาเหตุเพราะมีความสะดวกสบาย แต่ไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมา อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนหลังจากดำเนินโครงการแล้วก็เป็นไปในทางที่ดีขึ้น ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการช่วยลดปริมาณขยะให้น้อยลง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
1. แกนนำชุมชนด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน ต้องมีการรณรงค์และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องให้ประชาชนได้รับทราบ และไม่ละเลยให้ครัวเรือนสามารถจัดการขยะของตนเองได้
2. ชุมชนร่วมกับโรงเรียนช่วยกันจัดการ/เก็บขยะในที่สาธารณะ อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
- การประชุมออกแบบแบบสำรวจต้องใช้ระยะเวลา เพื่อที่จะให้ข้อมูลมีความครบถ้วน ถูกต้อง และคลอบคลุมเนื้อหา
- กลุ่มเป้าหมายจำนวนเยอะ มีการประกอบอาชีพหลากหลาย มาร่วมกิจกรรมล่าช้า แต่ทุกคนก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
- ต้องใช้ระยะนานในการสำรวจข้อมูลแต่ละครัวเรือน เพราะข้อมูลที่สำรวจมีหลายด้าน และบางครัวเรือนไม่อาจอ่านข้อมูลจากแบบสำรวจเองได้
- คณะทำงานร่วมวางแผนกับแกนนำชุมชน ค้นหาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย
- กลุ่มเป้าหมายมีจำนวนมากอาจจะแบ่งจัดกิจกรรมเป็นรุ่นๆ
- เจ้าหน้าที่ที่ลงเก็บข้อมูลช่วยอ่านและอธิบายให้ประชาชนทราบรายละเอียดในแบบสำรวจ เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการทำงาน
โกตาสวย ชุมชนยิ้ม ได้ด้วยการจัดการขยะ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กลุ่มออมทรัพย์บ้านโกตา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โกตาสวย ชุมชนยิ้ม ได้ด้วยการจัดการขยะ ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มออมทรัพย์บ้านโกตา
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โกตาสวย ชุมชนยิ้ม ได้ด้วยการจัดการขยะ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โกตาสวย ชุมชนยิ้ม ได้ด้วยการจัดการขยะ
บทคัดย่อ
โครงการโกตาสวย ชุมชนยิ้มได้ด้วยการจัดการขยะ โดยการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1.เพื่อลดอัตราการป่วยของประชาชนในชุมชน ด้วยโรคติดต่อในท้องถิ่นที่มีสาเหตุเกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
เพื่อสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ ปัญหาและการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเหมาะสม
เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
เพื่อสร้างแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
ผลการดำเนินโครงการพบว่า
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคัดเลือกแกนนำในชุมชน และจัดตั้งแกนนำ แบ่งบทบาทหน้าที่ ดังนี้
- ฝ่ายประสานงาน/ประชาสัมพันธ์
1. นายวิรัช โอมณี
2. นางร่มมาหวัน มินเด็น
3. นายราเชษฐ หวันสู
- ฝ่ายการเงินและบัญชี
- นางเรไร สันเจริญ
- นางรัชฎาพร หยังสู
- นางวไลพร หรหมแก้ว
- ฝ่ายปฏิคม/สถานที่
1. นายวีระยุทธ หลงหัน
2. นายเลาะ โซะติก
3. นางโสม หลีนุ่ม
4. นางนะดาห์ คลายนา
- ฝ่ายทั่วไป
1. นายยรรยง สง่า
2. นางสุมาลี ช้างชู
3. นางณัฐสิมา เร๊ะนุ้ย
4. เสาวลักษณ์ อุศมา
- ฝ่ายข้อมูลข่าวสาร
1. นางสาวนัฐวิสา ณะเตีย
2. นางสาวสุริยา สิทธิเวชผล
3. นางสาวถิรกานตร์ หลีเคราะห์
4. นายวีรวุฒิ หลงหัน
1.1 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 แบ่งบทบาทหน้าที่ วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวบรวมข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ครั้งที่ 2 และ 3 ออกแบบแบบสำรวจ ร่วมกันระดมความคิดเพื่อที่จะจัดทำแบบสำรวจเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชน
ครั้งที่ 4 ประชุมสรุปข้อมูลจากแบบสำรวจ
กิจกรรมที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูล/ชุมชน และหาแนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
2.1 จัดทำเวทีเปิดโครงการชี้แจงรายละเอียด วัตถุประสงค์ ให้ประชาชนในชุมชนทราบ พบว่าประชาชนในชุมชนให้ความสนใจเป็นอย่างมากโดยเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยร้อยละ 80 โดยสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยตามแนวคิด 3Rs ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้ำ (Reuse) และแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และยอมรับกับแนวทางการจัดการขยะของชุมชน พร้อมทั้งให้ความร่วมมือกับแกนนำในชุมชน เพื่อที่จะลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชนต่อไป
2.2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และที่สาธารณะ
กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในชุมชน จำนวน 308 คน การประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบก่อน – หลังอบรม จำนวน 14 ข้อ เกณฑ์การประเมินผล ดังนี้
คะแนน 1 – 5 ระดับต่ำ
คะแนน 6 – 10 ระดับปานกลาง
คะแนน 11 – 14 ระดับสูง
จากการประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการก่อนการอบรม พบว่า คะแนนของผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 61.36 ระดับสูง จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 25.97 และระดับต่ำ จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 12.67 และหลังจากผ่านการอบรม พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 85.06 ผ่านเกณฑ์การประเมิน อยู่ในระดับสูง ประชาชนส่วนใหญ่เข้าใจเพิ่มขึ้น
2.3 จัดทำธรรมนูญด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
อยากให้แนะนำความรู้ การจัดการขยะ แก่ครัวเรือนทุกครัวเรือน
จัดทำป้ายรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดการขยะ
สร้างข้อตกลง/วัฒนธรรมการจัดการขยะ เช่น การใช้ภาชนะ
จัดตั้งธนาคารออมขยะสำหรับเด็กในโรงเรียน
ทุกครัวเรือนต้องมีการคัดแยกขยะในครัวเรือนของตัวเองตามหลัก 3Rs
สร้างแรงจูงใจในการให้รางวัลครัวเรือนที่น่าอยู่ สะอาด ปลอดขยะ
สร้างสัญญาลักษณ์ บ่งชี้ (เขียว เหลือง แดง) ครัวเรือนจำกัดขยะ ตัดสิทธ์สวัสดิการของกลุ่มที่อยู่ในชุมชน
ให้ทุกครัวเรือนปฏิบัติตามข้อตกลงทุกประการ อย่างเคร่งครัด
ให้คณะกรรมการ/กลไกครัวเรือนการจัดการขยะในชุมชนและรายงานต่อที่ประชุมใหญ่ประจำปีๆ ละ 2 ครั้ง
กิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน
การสำรวจความรู้เกี่ยวกับมูลฝอยและการคัดแยกขยะ จากครัวเรือนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ แต่ข้อที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก คือ เกี่ยวกับการจัดหาถังขยะเป็นหน้าทื่ที่ทุกบ้านต้องจัดหาเอง ร้อยละ 35.06 ตอบว่าไม่ใช่เป็นหน้าที่ของประชาชน ซึ่งประชาชนส่วนหนึ่งยังคงเข้าใจผิด คิดว่าการจัดหาถังขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ
เจตคติต่อการจัดการมูลฝอยของประชาชนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วย ร้อยละ 52.60 ยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหามูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานราชการเท่านั้น และมีประชาชนร้อยละ 33.17 คิดว่าการคัดแยกมูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานรัฐ จะเห็นได้ว่าประชาชนยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับขยะและการคัดแยกขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ จึงทำให้ประชาชนขาดความตระหนักและไม่ได้มองว่าการแก้ไขปัญหาจริงๆ ต้องมาจากตนเองก่อน
พฤติกรรมการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ประชาชนไม่ได้นำตะกร้าหรือกระเป๋าผ้าไปใส่ของเมื่อไปซื้อของหรือจ่ายตลาด คิดเป็นร้อยละ 84.09 ไม่ได้นำถุงพลาสติก ถุงหูหิ้ว ที่ยังมีสภาพดีกลับมาใช้ซ้ำอีก ร้อยละ 35.06 และไม่ได้นำขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่เป็นประจำ ร้อยละ 61.69
จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมของประชาชนยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร เพราะมีความสะดวกสบายในการซื้อของต่างๆ ส่วนหนึ่งยังไม่คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาภายหลัง
จากข้อมูลส่วนที่ 6 การมีส่วนร่วมของประชาชนด้านการจัดการมูลฝอยจากครัวเรือนในชุมชน จำนวน308 ครัวเรือน ด้านที่ 1 การมีส่วนร่วมค้นหาสาเหตุของปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือการเสนอปัญหา สาเหตุของปัญหาในการจัดการมูลฝอยในชุมชนในที่ประชุม ร้อยละ 81.17 ด้านที่ 2 การมีส่วนร่วมวางแผนแก้ไขปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมรส่วนร่วมมากที่สุด คือ ให้ข้อมูลที่จำเป็นในการประชุมวางแผนขั้นตอนในการจัดการมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 80.84 การวางแผนจัดหาสิ่งของ เช่น อุปกรณ์ทำความสะอาด ถังขยะ เป็นต้น เพื่อแก้ไขปัญหามูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 และวางแผนรณรงค์การกำจัดมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 ด้านที่ 3 การดำเนินงานจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีส่วนร่วมกับ อบต. ในการเข้ารับการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย ร้อยละ 91.88 ด้านที่ 4 การรับผลประโยชน์ พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมาก คือ มีรายได้จากการนำมูลฝอยบางประเภทไปขาย ร้อยละ 78.57 สามารถติดต่อสื่อสารกับ อบต. ได้สะดวกขึ้น ร้อยละ 87.99 มีส่วนร่วมในการทำให้ชุมชนสะอาดเรียบร้อย ร้อยละ 81.17 และมีส่วนร่วมในการลดมลพิษในชุมชนให้น้อยลง ร้อยละ 84.74 ด้านที่ 5 การติดตามและประเมินผล พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ ได้รับทราบผลการประเมินผลการดำเนินงานการจัดการมูลฝอยในชุมชนของท่าน ร้อยละ 80.84
กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีประชาคมและประชาสัมพันธ์ แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน / พื้นที่สาธารณะ
จัดกิจกรรมคืนข้อมูลจากการสำรวจการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนหมู่ที่ 7 บ้านโกตา จำนวน 308 ครัวเรือน ได้แจ้งผลให้ประชาชนได้รับทราบเกี่ยวกับปัญหาขยะในชุมชน และสาเหตุของปัญหา เพื่อที่จะให้ทุกคนได้ร่วมกันแก้ไข และหาแนวทางเพื่อที่จะลดปริมาณขยะในชุมชน และทางคณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการขยะในชุมชนได้จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ กฎ กติกา ข้อตกลง ให้ประชาชนได้รับทราบและยึดถือปฏิบัติตาม เพื่อให้เป็นหมู่บ้านปลอดขยะ
กิจกรรมที่ 5 ติดตาม/ประเมินผล
การติดตามผลการจัดการขยะแต่ละครัวเรือน โดยการสุ่ม จำนวน 120 ครัวเรือนในชุมชน พบว่า พฤติกรรมการจัดการขยะมีการเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น จากการทิ้งเศษอาหารบริเวณบ้าน ก็ปรับเปลี่ยนมาทำเป็นถังขยะเปียก ร้อยละ 85.83 ทำน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ 79.17 ขยะบางประเภทขายให้กับร้านรับซื้อของเก่า ร้อยละ 91.67 ส่วนประเภทขยะอันตรายทิ้งลงถังขยะสีแดงที่ อบต.จัดให้ ร้อยละ 87.5 และขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งลงถัง อบต. จะเห็นได้ว่าประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชนกันมากขึ้น หลังจากมีการรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ประชาชนบางครัวเรือนเลิกใช้ถุงพลาสติก โดยใช้ถุงผ้าแทน แต่ก็ยังมีประชาชนที่ยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร สาเหตุเพราะมีความสะดวกสบาย แต่ไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมา อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนหลังจากดำเนินโครงการแล้วก็เป็นไปในทางที่ดีขึ้น ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการช่วยลดปริมาณขยะให้น้อยลง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
1. แกนนำชุมชนด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน ต้องมีการรณรงค์และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องให้ประชาชนได้รับทราบ และไม่ละเลยให้ครัวเรือนสามารถจัดการขยะของตนเองได้
2. ชุมชนร่วมกับโรงเรียนช่วยกันจัดการ/เก็บขยะในที่สาธารณะ อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญที่ทุกประเทศกำลังเผชิญและต้องทุ่มเททรัพยากรในการจัดการปัญหาดังกล่าว ปัญหาขยะมูลฝอยนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นเนื่องจากการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคม และเทคโนโลยี การขยายตัวทางเศรษฐกิจและการแข่งขันในอุตสาหกรรม ทำให้ผู้ผลิตพยายามพัฒนาสินค้ารูปแบบใหม่ๆ ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีความเป็นวัตถุนิยมมากขึ้นจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น การขยายตัวของประชากรและการอยู่อาศัยในเขตเมืองซึ่งเป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตที่ก่อให้เกิดปริมาณขยะมากกว่าการอาศัยอยู่ในชนบท ส่งผลให้ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปริมาณขยะในชุมชนเพิ่มมากขึ้นโดยขาดการจัดการที่เหมาะสมก่อให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ปัญหาขยะมูลฝอยก่อให้เกิดปัญหามลพิษต่อสิ่งแวดล้อมมากมาย ไม่ว่าจะเป็นปัญหามลพิษทางน้ำจากน้ำเสียที่รั่วไหลจากแหล่งเทกองขยะ หรือ ขยะที่ถูกฝังกลบอยู่ใต้ดิน ทำให้คุณภาพแหล่งน้ำผิวดิน และใต้ดินแย่ลง มลพิษทางดินที่เกิดจากการปนเปื้อนของน้ำชะขยะหรือสารเคมีลงสู่พื้นดินมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ นอกจากนั้นขยะมูลฝอยบางชนิดใช้ระยะเวลาย่อยสลายนาน หรือไม่ย่อยสลายและกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อมการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมายังไม่สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร อาจมาจากสาเหตุการไม่ให้ความสำคัญและความพร้อมต่อการแก้ไขปัญหาที่ยังไม่เพียงพอ รัฐบาลเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงได้กำหนดให้ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นวาระแห่งชาติ ชุมชนบ้านโกตา มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 308 ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด 803 คน จากการสำรวจปริมาณขยะของชุมชน พบว่า มีปริมาณขยะมูลฝอย ประมาณ 2,500 กิโลกรัม/สัปดาห์ ซึ่งมาจากการดำรงชีวิตประจำวันของคนในชุมชนจึงเป็นภาระหนัก ในการบริหารจัดการขยะเหล่านั้น ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นมากมายทุกวัน ส่งผลให้มีขยะตกค้างบ้างซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนในชุมชนสภาพปัญหาที่เห็น คือ มีขยะมูลฝอยกระจายในที่ต่างๆ เช่น ริมถนน บริเวณที่สาธารณะ ทำให้ไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำโรคต่าง ๆ เช่น หนู แมลงสาบแมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ โรคไข้เลือดออก และสถานการณ์โรคในพื้นที่หมู่ที่ 7 ตั้งแต่ปี ๒๕๕5-๒๕๖๐ มีดังนี้ สถานการณ์ไข้เลือดออก จำนวน 25 ราย คิดอัตราป่วย 3.11 ต่อจำนวนประชากร,อุจาระร่วงจำนวน 40 ราย คิดอัตราป่วย 4.98 ต่อจำนวนประชากรจากการสังเกต สอบถาม และสำรวจข้อมูลเบื้องต้น พบว่าประชาชนในชุมชนบ้านโกตามีความรู้ ความเข้าใจการจัดการขยะที่ถูกต้องน้อยจึงทำให้มีปัญหาขยะเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น การจัดการขยะมูลฝอยจึงเป็นเรื่องที่สำคัญจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพราะปัญหาขยะมูลฝอยได้สะท้อนให้เห็นถึงสุขอนามัยภายในชุมชน เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดโรคและเพื่อให้การจัดการขยะมูลฝอยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นระบบ จากปัญหาดังกล่าว ชุมชนจึงได้จัดทำโครงการเกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือนขึ้น เพื่อสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ และร่วมมือกันจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนอย่างเหมาะสมด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและตามแนวคิด3Rs ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้ำ (Reuse) และแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) โดยมุ่งเน้นการจัดการขยะที่ต้นทาง เพื่อการจัดการที่ยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อลดอัตราการป่วยของประชาชนในชุมชน ด้วยโรคติดต่อในท้องถิ่นที่มีสาเหตุเกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
- 2. เพื่อสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ ปัญหาและการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเหมาะสม
- 3. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
- 4. เพื่อสร้างแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดตั้งแกนนำหมู่บ้าน
- กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูล/ชุมชน และหาแนวทางจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
- กิจกรรมสำรวจข้อมูลการจัดการขยะในชุมชน
- กิจกรรมจัดเวทีประชาคมและประชาสัมพันธ์ แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
- กิจกรรมติดตาม/ประเมินผล
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีแกนนำหมู่บ้านในการวางแผน และดำเนินงานการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน
- ประชาชนรับรู้ เข้าใจ ปัญหาและการจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ
- บริเวณบ้านและบริเวณที่สาธารณะในชุมชนมีความสะอาด น่ามอง ไม่มีขยะตกค้างในชุมชน
- ปริมาณขยะมูลฝอยจากครัวเรือนมีปริมาณลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมจัดตั้งแกนนำหมู่บ้าน |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.1 คัดเลือกแกนนำชุมชน/จัดตั้งแกนนำชุมชน 1.2 จัดประชุมแกนนำชุมชน รวม 4 ครั้ง/ปี โดยมีรายละเอียดการประชุม ดังนี้ ประชุมครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่ วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวบรวมข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้อง ประชุมครั้งที่ 2 และ 3 ออกแบบสำรวจข้อมูล ประชุมสรุปความก้าวหน้าการทำงานตามแผน เสนอปัญหาที่พบ และร่วมกันหาทางแก้ปัญหา หรือพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้น ประชุมครั้งที่ 4 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินกิจกรรม ได้วางแผนการดำเนินงานและได้คัดเลือกตัวแทนชุมชนเพื่อเป็นคณะทำงานในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน ได้แบ่งหน้าที่แต่ละฝ่าย แล้วประชุมออกแบบสอบถามเพื่อสำรวจข้อมูลการจัดการขยะของแต่ละครัวเรือน มอบหมายหน้าที่แกนนำลงพื้นที่สำรวจข้อมูลการจัดการขยะในครัวเรือน เพื่อวางแผนการดำเนินงานการบริหารจัดการขยะในชุมชนต่อไป 1.1 จัดประชุมคัดเลือกแกนนำในชุมชน และจัดตั้งแกนนำ แบบ่งบทบาทหน้าที่ ดังนี้
- ฝ่ายการเงินและบัญชี
- ฝ่ายปฏิคม/สถานที่
- ฝ่ายทั่วไป
- ฝ่ายข้อมูลข่าวสาร
ประชุมครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่ วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวบรวมข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้อง ประชุมครั้งที่ 2 และ 3 ออกแบบสำรวจข้อมูล ประชุมสรุปความก้าวหน้าการทำงานตามแผน เสนอปัญหาที่พบ และร่วมกันหาทางแก้ปัญหา หรือพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้น ประชุมครั้งที่ 4 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
|
18 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมสำรวจข้อมูลการจัดการขยะในชุมชน |
||
วันที่ 1 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน การสำรวจความรู้เกี่ยวกับมูลฝอยและการคัดแยกขยะ จากครัวเรือนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ แต่ข้อที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก คือ เกี่ยวกับการจัดหาถังขยะเป็นหน้าทื่ที่ทุกบ้านต้องจัดหาเอง ร้อยละ 35.06 ตอบว่าไม่ใช่เป็นหน้าที่ของประชาชน ซึ่งประชาชนส่วนหนึ่งยังคงเข้าใจผิด คิดว่าการจัดหาถังขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ
จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมของประชาชนยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร เพราะมีความสะดวกสบายในการซื้อของต่างๆ ส่วนหนึ่งยังไม่คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาภายหลัง
|
308 | 0 |
3. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูล/ชุมชน และหาแนวทางจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ |
||
วันที่ 11 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
3.สร้างการรับรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยให้แก่ประชาชนตามแนวคิด 3Rs ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) และการแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูล/ชุมชน และหาแนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
|
308 | 0 |
4. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมจัดเวทีประชาคมและประชาสัมพันธ์ แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ |
||
วันที่ 3 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 4 จัดเวทีประชาคมและประชาสัมพันธ์ แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน / พื้นที่สาธารณะ จัดกิจกรรมคืนข้อมูลจากการสำรวจการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนหมู่ที่ 7 บ้านโกตา จำนวน 308 ครัวเรือน ได้แจ้งผลให้ประชาชนได้รับทราบเกี่ยวกับปัญหาขยะในชุมชน และสาเหตุของปัญหา เพื่อที่จะให้ทุกคนได้ร่วมกันแก้ไข และหาแนวทางเพื่อที่จะลดปริมาณขยะในชุมชน และทางคณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการขยะในชุมชนได้จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ กฎ กติกา ข้อตกลง ให้ประชาชนได้รับทราบและยึดถือปฏิบัติตาม เพื่อให้เป็นหมู่บ้านปลอดขยะ
|
308 | 0 |
5. กิจกรรมที่ 5 ติดตาม/ประเมินผล |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 5 ติดตาม/ประเมินผล
|
308 | 0 |
6. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำจัดทำรูปเล่มสรุปผลการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีรูปเล่มสรุปผลการดำเนินงาน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคัดเลือกแกนนำในชุมชน และจัดตั้งแกนนำ แบ่งบทบาทหน้าที่ ดังนี้
- ฝ่ายประสานงาน/ประชาสัมพันธ์
- นายวิรัช โอมณี
- นางร่มมาหวัน มินเด็น
- นายราเชษฐ หวันสู
- ฝ่ายการเงินและบัญชี
- นางเรไร สันเจริญ
- นางรัชฎาพร หยังสู
- นางวไลพร หรหมแก้ว
- ฝ่ายปฏิคม/สถานที่
- นายวีระยุทธ หลงหัน
- นายเลาะ โซะติก
- นางโสม หลีนุ่ม
- นางนะดาห์ คลายนา
- ฝ่ายทั่วไป
- นายยรรยง สง่า
- นางสุมาลี ช้างชู
- นางณัฐสิมา เร๊ะนุ้ย
- เสาวลักษณ์ อุศมา
- ฝ่ายข้อมูลข่าวสาร
1. นางสาวนัฐวิสา ณะเตีย
2. นางสาวสุริยา สิทธิเวชผล
3. นางสาวถิรกานตร์ หลีเคราะห์
4. นายวีรวุฒิ หลงหัน
1.1 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 แบ่งบทบาทหน้าที่ วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวบรวมข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ครั้งที่ 2 และ 3 ออกแบบแบบสำรวจ ร่วมกันระดมความคิดเพื่อที่จะจัดทำแบบสำรวจเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชน
ครั้งที่ 4 ประชุมสรุปข้อมูลจากแบบสำรวจ
กิจกรรมที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูล/ชุมชน และหาแนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
2.1 จัดทำเวทีเปิดโครงการชี้แจงรายละเอียด วัตถุประสงค์ ให้ประชาชนในชุมชนทราบ พบว่าประชาชนในชุมชนให้ความสนใจเป็นอย่างมากโดยเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยร้อยละ 80 โดยสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยตามแนวคิด 3Rs ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้ำ (Reuse) และแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และยอมรับกับแนวทางการจัดการขยะของชุมชน พร้อมทั้งให้ความร่วมมือกับแกนนำในชุมชน เพื่อที่จะลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชนต่อไป
2.2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และที่สาธารณะ
กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในชุมชน จำนวน 308 คน การประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบก่อน – หลังอบรม จำนวน 14 ข้อ เกณฑ์การประเมินผล ดังนี้
คะแนน 1 – 5 ระดับต่ำ
คะแนน 6 – 10 ระดับปานกลาง
คะแนน 11 – 14 ระดับสูง
จากการประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการก่อนการอบรม พบว่า คะแนนของผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 61.36 ระดับสูง จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 25.97 และระดับต่ำ จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 12.67 และหลังจากผ่านการอบรม พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 85.06 ผ่านเกณฑ์การประเมิน อยู่ในระดับสูง ประชาชนส่วนใหญ่เข้าใจเพิ่มขึ้น
2.3 จัดทำธรรมนูญด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
อยากให้แนะนำความรู้ การจัดการขยะ แก่ครัวเรือนทุกครัวเรือน
จัดทำป้ายรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดการขยะ
สร้างข้อตกลง/วัฒนธรรมการจัดการขยะ เช่น การใช้ภาชนะ
จัดตั้งธนาคารออมขยะสำหรับเด็กในโรงเรียน
ทุกครัวเรือนต้องมีการคัดแยกขยะในครัวเรือนของตัวเองตามหลัก 3Rs
สร้างแรงจูงใจในการให้รางวัลครัวเรือนที่น่าอยู่ สะอาด ปลอดขยะ
สร้างสัญญาลักษณ์ บ่งชี้ (เขียว เหลือง แดง) ครัวเรือนจำกัดขยะ ตัดสิทธ์สวัสดิการของกลุ่มที่อยู่ในชุมชน
ให้ทุกครัวเรือนปฏิบัติตามข้อตกลงทุกประการ อย่างเคร่งครัด
ให้คณะกรรมการ/กลไกครัวเรือนการจัดการขยะในชุมชนและรายงานต่อที่ประชุมใหญ่ประจำปีๆ ละ 2 ครั้ง
กิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน
การสำรวจความรู้เกี่ยวกับมูลฝอยและการคัดแยกขยะ จากครัวเรือนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ แต่ข้อที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก คือ เกี่ยวกับการจัดหาถังขยะเป็นหน้าทื่ที่ทุกบ้านต้องจัดหาเอง ร้อยละ 35.06 ตอบว่าไม่ใช่เป็นหน้าที่ของประชาชน ซึ่งประชาชนส่วนหนึ่งยังคงเข้าใจผิด คิดว่าการจัดหาถังขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ
เจตคติต่อการจัดการมูลฝอยของประชาชนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วย ร้อยละ 52.60 ยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหามูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานราชการเท่านั้น และมีประชาชนร้อยละ 33.17 คิดว่าการคัดแยกมูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานรัฐ จะเห็นได้ว่าประชาชนยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับขยะและการคัดแยกขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ จึงทำให้ประชาชนขาดความตระหนักและไม่ได้มองว่าการแก้ไขปัญหาจริงๆ ต้องมาจากตนเองก่อน
พฤติกรรมการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ประชาชนไม่ได้นำตะกร้าหรือกระเป๋าผ้าไปใส่ของเมื่อไปซื้อของหรือจ่ายตลาด คิดเป็นร้อยละ 84.09 ไม่ได้นำถุงพลาสติก ถุงหูหิ้ว ที่ยังมีสภาพดีกลับมาใช้ซ้ำอีก ร้อยละ 35.06 และไม่ได้นำขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่เป็นประจำ ร้อยละ 61.69
จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมของประชาชนยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร เพราะมีความสะดวกสบายในการซื้อของต่างๆ ส่วนหนึ่งยังไม่คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาภายหลัง
จากข้อมูลส่วนที่ 6 การมีส่วนร่วมของประชาชนด้านการจัดการมูลฝอยจากครัวเรือนในชุมชน จำนวน308 ครัวเรือน ด้านที่ 1 การมีส่วนร่วมค้นหาสาเหตุของปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือการเสนอปัญหา สาเหตุของปัญหาในการจัดการมูลฝอยในชุมชนในที่ประชุม ร้อยละ 81.17 ด้านที่ 2 การมีส่วนร่วมวางแผนแก้ไขปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมรส่วนร่วมมากที่สุด คือ ให้ข้อมูลที่จำเป็นในการประชุมวางแผนขั้นตอนในการจัดการมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 80.84 การวางแผนจัดหาสิ่งของ เช่น อุปกรณ์ทำความสะอาด ถังขยะ เป็นต้น เพื่อแก้ไขปัญหามูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 และวางแผนรณรงค์การกำจัดมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 ด้านที่ 3 การดำเนินงานจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีส่วนร่วมกับ อบต. ในการเข้ารับการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย ร้อยละ 91.88 ด้านที่ 4 การรับผลประโยชน์ พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมาก คือ มีรายได้จากการนำมูลฝอยบางประเภทไปขาย ร้อยละ 78.57 สามารถติดต่อสื่อสารกับ อบต. ได้สะดวกขึ้น ร้อยละ 87.99 มีส่วนร่วมในการทำให้ชุมชนสะอาดเรียบร้อย ร้อยละ 81.17 และมีส่วนร่วมในการลดมลพิษในชุมชนให้น้อยลง ร้อยละ 84.74 ด้านที่ 5 การติดตามและประเมินผล พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ ได้รับทราบผลการประเมินผลการดำเนินงานการจัดการมูลฝอยในชุมชนของท่าน ร้อยละ 80.84
กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีประชาคมและประชาสัมพันธ์ แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน / พื้นที่สาธารณะ
จัดกิจกรรมคืนข้อมูลจากการสำรวจการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนหมู่ที่ 7 บ้านโกตา จำนวน 308 ครัวเรือน ได้แจ้งผลให้ประชาชนได้รับทราบเกี่ยวกับปัญหาขยะในชุมชน และสาเหตุของปัญหา เพื่อที่จะให้ทุกคนได้ร่วมกันแก้ไข และหาแนวทางเพื่อที่จะลดปริมาณขยะในชุมชน และทางคณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการขยะในชุมชนได้จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ กฎ กติกา ข้อตกลง ให้ประชาชนได้รับทราบและยึดถือปฏิบัติตาม เพื่อให้เป็นหมู่บ้านปลอดขยะ
กิจกรรมที่ 5 ติดตาม/ประเมินผล
การติดตามผลการจัดการขยะแต่ละครัวเรือน โดยการสุ่ม จำนวน 120 ครัวเรือนในชุมชน พบว่า พฤติกรรมการจัดการขยะมีการเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น จากการทิ้งเศษอาหารบริเวณบ้าน ก็ปรับเปลี่ยนมาทำเป็นถังขยะเปียก ร้อยละ 85.83 ทำน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ 79.17 ขยะบางประเภทขายให้กับร้านรับซื้อของเก่า ร้อยละ 91.67 ส่วนประเภทขยะอันตรายทิ้งลงถังขยะสีแดงที่ อบต.จัดให้ ร้อยละ 87.5 และขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งลงถัง อบต. จะเห็นได้ว่าประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชนกันมากขึ้น หลังจากมีการรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ประชาชนบางครัวเรือนเลิกใช้ถุงพลาสติก โดยใช้ถุงผ้าแทน แต่ก็ยังมีประชาชนที่ยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร สาเหตุเพราะมีความสะดวกสบาย แต่ไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมา อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนหลังจากดำเนินโครงการแล้วก็เป็นไปในทางที่ดีขึ้น ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการช่วยลดปริมาณขยะให้น้อยลง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อลดอัตราการป่วยของประชาชนในชุมชน ด้วยโรคติดต่อในท้องถิ่นที่มีสาเหตุเกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค ตัวชี้วัด : 1.อัตราการป่วยของประชาชนในชุมชนที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค มีอัตราการป่วยลดลง ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ ปัญหาและการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80มีความรู้และมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย |
0.00 | 0.00 |
|
|
3 | 3. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน 2. มีธรรมนูญด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน 3. ประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ได้รับรู้ข้อมูลด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน |
0.00 | 0.00 |
|
|
4 | 4. เพื่อสร้างแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ตัวชี้วัด : 1. เกิดกลุ่มแกนนำในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน |
0.00 | 0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | 308 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | 308 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการโกตาสวย ชุมชนยิ้มได้ด้วยการจัดการขยะ โดยการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1.เพื่อลดอัตราการป่วยของประชาชนในชุมชน ด้วยโรคติดต่อในท้องถิ่นที่มีสาเหตุเกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
เพื่อสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ ปัญหาและการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเหมาะสม
เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
เพื่อสร้างแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
ผลการดำเนินโครงการพบว่า
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคัดเลือกแกนนำในชุมชน และจัดตั้งแกนนำ แบ่งบทบาทหน้าที่ ดังนี้
- ฝ่ายประสานงาน/ประชาสัมพันธ์
1. นายวิรัช โอมณี
2. นางร่มมาหวัน มินเด็น
3. นายราเชษฐ หวันสู
- ฝ่ายการเงินและบัญชี
- นางเรไร สันเจริญ
- นางรัชฎาพร หยังสู
- นางวไลพร หรหมแก้ว
- ฝ่ายปฏิคม/สถานที่
1. นายวีระยุทธ หลงหัน
2. นายเลาะ โซะติก
3. นางโสม หลีนุ่ม
4. นางนะดาห์ คลายนา
- ฝ่ายทั่วไป
1. นายยรรยง สง่า
2. นางสุมาลี ช้างชู
3. นางณัฐสิมา เร๊ะนุ้ย
4. เสาวลักษณ์ อุศมา
- ฝ่ายข้อมูลข่าวสาร
1. นางสาวนัฐวิสา ณะเตีย
2. นางสาวสุริยา สิทธิเวชผล
3. นางสาวถิรกานตร์ หลีเคราะห์
4. นายวีรวุฒิ หลงหัน
1.1 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 แบ่งบทบาทหน้าที่ วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวบรวมข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ครั้งที่ 2 และ 3 ออกแบบแบบสำรวจ ร่วมกันระดมความคิดเพื่อที่จะจัดทำแบบสำรวจเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชน
ครั้งที่ 4 ประชุมสรุปข้อมูลจากแบบสำรวจ
กิจกรรมที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูล/ชุมชน และหาแนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ
2.1 จัดทำเวทีเปิดโครงการชี้แจงรายละเอียด วัตถุประสงค์ ให้ประชาชนในชุมชนทราบ พบว่าประชาชนในชุมชนให้ความสนใจเป็นอย่างมากโดยเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยร้อยละ 80 โดยสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยตามแนวคิด 3Rs ได้แก่ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้ำ (Reuse) และแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และยอมรับกับแนวทางการจัดการขยะของชุมชน พร้อมทั้งให้ความร่วมมือกับแกนนำในชุมชน เพื่อที่จะลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชนต่อไป
2.2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และที่สาธารณะ
กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในชุมชน จำนวน 308 คน การประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบก่อน – หลังอบรม จำนวน 14 ข้อ เกณฑ์การประเมินผล ดังนี้
คะแนน 1 – 5 ระดับต่ำ
คะแนน 6 – 10 ระดับปานกลาง
คะแนน 11 – 14 ระดับสูง
จากการประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการก่อนการอบรม พบว่า คะแนนของผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 61.36 ระดับสูง จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 25.97 และระดับต่ำ จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 12.67 และหลังจากผ่านการอบรม พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 85.06 ผ่านเกณฑ์การประเมิน อยู่ในระดับสูง ประชาชนส่วนใหญ่เข้าใจเพิ่มขึ้น
2.3 จัดทำธรรมนูญด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
อยากให้แนะนำความรู้ การจัดการขยะ แก่ครัวเรือนทุกครัวเรือน
จัดทำป้ายรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดการขยะ
สร้างข้อตกลง/วัฒนธรรมการจัดการขยะ เช่น การใช้ภาชนะ
จัดตั้งธนาคารออมขยะสำหรับเด็กในโรงเรียน
ทุกครัวเรือนต้องมีการคัดแยกขยะในครัวเรือนของตัวเองตามหลัก 3Rs
สร้างแรงจูงใจในการให้รางวัลครัวเรือนที่น่าอยู่ สะอาด ปลอดขยะ
สร้างสัญญาลักษณ์ บ่งชี้ (เขียว เหลือง แดง) ครัวเรือนจำกัดขยะ ตัดสิทธ์สวัสดิการของกลุ่มที่อยู่ในชุมชน
ให้ทุกครัวเรือนปฏิบัติตามข้อตกลงทุกประการ อย่างเคร่งครัด
ให้คณะกรรมการ/กลไกครัวเรือนการจัดการขยะในชุมชนและรายงานต่อที่ประชุมใหญ่ประจำปีๆ ละ 2 ครั้ง
กิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน
การสำรวจความรู้เกี่ยวกับมูลฝอยและการคัดแยกขยะ จากครัวเรือนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ แต่ข้อที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก คือ เกี่ยวกับการจัดหาถังขยะเป็นหน้าทื่ที่ทุกบ้านต้องจัดหาเอง ร้อยละ 35.06 ตอบว่าไม่ใช่เป็นหน้าที่ของประชาชน ซึ่งประชาชนส่วนหนึ่งยังคงเข้าใจผิด คิดว่าการจัดหาถังขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ
เจตคติต่อการจัดการมูลฝอยของประชาชนในชุมชน จำนวน 308 ครัวเรือน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วย ร้อยละ 52.60 ยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหามูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานราชการเท่านั้น และมีประชาชนร้อยละ 33.17 คิดว่าการคัดแยกมูลฝอยเป็นหน้าที่ของหน่วยงานรัฐ จะเห็นได้ว่าประชาชนยังคงคิดว่าการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับขยะและการคัดแยกขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ จึงทำให้ประชาชนขาดความตระหนักและไม่ได้มองว่าการแก้ไขปัญหาจริงๆ ต้องมาจากตนเองก่อน
พฤติกรรมการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ประชาชนไม่ได้นำตะกร้าหรือกระเป๋าผ้าไปใส่ของเมื่อไปซื้อของหรือจ่ายตลาด คิดเป็นร้อยละ 84.09 ไม่ได้นำถุงพลาสติก ถุงหูหิ้ว ที่ยังมีสภาพดีกลับมาใช้ซ้ำอีก ร้อยละ 35.06 และไม่ได้นำขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่เป็นประจำ ร้อยละ 61.69
จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมของประชาชนยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร เพราะมีความสะดวกสบายในการซื้อของต่างๆ ส่วนหนึ่งยังไม่คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาภายหลัง
จากข้อมูลส่วนที่ 6 การมีส่วนร่วมของประชาชนด้านการจัดการมูลฝอยจากครัวเรือนในชุมชน จำนวน308 ครัวเรือน ด้านที่ 1 การมีส่วนร่วมค้นหาสาเหตุของปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือการเสนอปัญหา สาเหตุของปัญหาในการจัดการมูลฝอยในชุมชนในที่ประชุม ร้อยละ 81.17 ด้านที่ 2 การมีส่วนร่วมวางแผนแก้ไขปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมรส่วนร่วมมากที่สุด คือ ให้ข้อมูลที่จำเป็นในการประชุมวางแผนขั้นตอนในการจัดการมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 80.84 การวางแผนจัดหาสิ่งของ เช่น อุปกรณ์ทำความสะอาด ถังขยะ เป็นต้น เพื่อแก้ไขปัญหามูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 และวางแผนรณรงค์การกำจัดมูลฝอยในชุมชน ร้อยละ 90.91 ด้านที่ 3 การดำเนินงานจัดการมูลฝอยในชุมชน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ มีส่วนร่วมกับ อบต. ในการเข้ารับการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย ร้อยละ 91.88 ด้านที่ 4 การรับผลประโยชน์ พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมาก คือ มีรายได้จากการนำมูลฝอยบางประเภทไปขาย ร้อยละ 78.57 สามารถติดต่อสื่อสารกับ อบต. ได้สะดวกขึ้น ร้อยละ 87.99 มีส่วนร่วมในการทำให้ชุมชนสะอาดเรียบร้อย ร้อยละ 81.17 และมีส่วนร่วมในการลดมลพิษในชุมชนให้น้อยลง ร้อยละ 84.74 ด้านที่ 5 การติดตามและประเมินผล พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ ได้รับทราบผลการประเมินผลการดำเนินงานการจัดการมูลฝอยในชุมชนของท่าน ร้อยละ 80.84
กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีประชาคมและประชาสัมพันธ์ แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน / พื้นที่สาธารณะ
จัดกิจกรรมคืนข้อมูลจากการสำรวจการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนหมู่ที่ 7 บ้านโกตา จำนวน 308 ครัวเรือน ได้แจ้งผลให้ประชาชนได้รับทราบเกี่ยวกับปัญหาขยะในชุมชน และสาเหตุของปัญหา เพื่อที่จะให้ทุกคนได้ร่วมกันแก้ไข และหาแนวทางเพื่อที่จะลดปริมาณขยะในชุมชน และทางคณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการขยะในชุมชนได้จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือน/พื้นที่สาธารณะ กฎ กติกา ข้อตกลง ให้ประชาชนได้รับทราบและยึดถือปฏิบัติตาม เพื่อให้เป็นหมู่บ้านปลอดขยะ
กิจกรรมที่ 5 ติดตาม/ประเมินผล
การติดตามผลการจัดการขยะแต่ละครัวเรือน โดยการสุ่ม จำนวน 120 ครัวเรือนในชุมชน พบว่า พฤติกรรมการจัดการขยะมีการเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น จากการทิ้งเศษอาหารบริเวณบ้าน ก็ปรับเปลี่ยนมาทำเป็นถังขยะเปียก ร้อยละ 85.83 ทำน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ 79.17 ขยะบางประเภทขายให้กับร้านรับซื้อของเก่า ร้อยละ 91.67 ส่วนประเภทขยะอันตรายทิ้งลงถังขยะสีแดงที่ อบต.จัดให้ ร้อยละ 87.5 และขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งลงถัง อบต. จะเห็นได้ว่าประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชนกันมากขึ้น หลังจากมีการรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ประชาชนบางครัวเรือนเลิกใช้ถุงพลาสติก โดยใช้ถุงผ้าแทน แต่ก็ยังมีประชาชนที่ยังคงใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุอาหาร สาเหตุเพราะมีความสะดวกสบาย แต่ไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมา อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนหลังจากดำเนินโครงการแล้วก็เป็นไปในทางที่ดีขึ้น ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการช่วยลดปริมาณขยะให้น้อยลง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
1. แกนนำชุมชนด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน ต้องมีการรณรงค์และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องให้ประชาชนได้รับทราบ และไม่ละเลยให้ครัวเรือนสามารถจัดการขยะของตนเองได้
2. ชุมชนร่วมกับโรงเรียนช่วยกันจัดการ/เก็บขยะในที่สาธารณะ อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โกตาสวย ชุมชนยิ้ม ได้ด้วยการจัดการขยะ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กลุ่มออมทรัพย์บ้านโกตา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......