กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง


“ โครงการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันเด็กจมน้ำ เทศบาลตำบลฉลุงอำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 (รุ่นที่ 2) ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี

ชื่อโครงการ โครงการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันเด็กจมน้ำ เทศบาลตำบลฉลุงอำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 (รุ่นที่ 2)

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L7580-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 15 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันเด็กจมน้ำ เทศบาลตำบลฉลุงอำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 (รุ่นที่ 2) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันเด็กจมน้ำ เทศบาลตำบลฉลุงอำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 (รุ่นที่ 2)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันเด็กจมน้ำ เทศบาลตำบลฉลุงอำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 (รุ่นที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L7580-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 131,710.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การตกน้ำ จมน้ำของเด็ก พบว่า จากทั่วโลกกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการตกน้ำ จมน้ำ ปีละ 135,585 คน หรือเฉลี่ยวันละ 372 คน ส่วนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีจำนวนปีละ 32,744 คน เฉลี่ยวันละ 90 คนขณะที่ประเทศไทยมีเด็กที่เสียชีวิตจากการจมน้ำมากกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว 5 – 15 เท่าตัว เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งเมื่อเทียบกับการเสียชีวิตจากสาเหตุอื่นๆ จะสูงกว่าอุบัติเหตุจราจรประมาณ 2 เท่าตัว และมากกว่าไข้จากไวรัสที่มีแมลงเป็นพาหะและไข้เลือดออกถึง 24 เท่าตัว คิดเป็นจำนวนปีละ 1,420 คน หรือวันละ 4 คน ในขณะที่ช่วงปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน (มีนาคม – พฤษภาคม) มีเด็กตกน้ำ จมน้ำ สูงถึงเกือบ 500 คน แหล่งน้ำที่มีเด็กเสียชีวิตจากการตกน้ำจมน้ำสูงสุดคือ แหล่งน้ำธรรมชาติ ร้อยละ 49.9 รองลงมาคือสระว่ายน้ำ ร้อยละ 5.4 และอ่างอาบน้ำ ร้อยละ 2.5 (สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) การจมน้ำของเด็กเล็กมักเป็นอุบัติเหตุที่ผู้ปกครองคาดไม่ถึง เพราะเชื่อว่าตนเองสามารถดูแลเด็กได้ตลอดเวลา และไม่คิดว่าสภาพแวดล้อมในชีวิตประจำวันทั่วไป จะเป็นอันตรายต่อเด็ก แต่สถิติมีเด็กเล็กที่เสียชีวิตจากการจมน้ำในถังน้ำ กาละมัง บ่อ อ่างเลี้ยงปลา แม้กระทั่งโถชักโครก หรือตามบ้านเรือนที่เป็นพื้นไม้และมีร่องหรือรอยแตกขนาดใหญ่โดยที่พื้นข้างล่างเป็นแหล่งน้ำก็เคยมีเหตุการณ์ที่เด็กตกลงเสียชีวิตอยู่เสมอการเสียชีวิตในกลุ่มเด็กเล็ก หรือการเสียชีวิตในกลุ่มเด็กอายุ 6-10 ปี มีลักษณะที่แตกต่างออกไป เพราะเด็กวัยนี้สามารถออกไปเล่นกับเพื่อนนอกบ้านได้แล้ว และการเล่นน้ำกับเพื่อนทั้งที่ว่ายน้ำไม่เป็น หรือการเล่นน้ำแบบผาดโผน เช่น กระโดดจากที่สูงหรือเล่นกับเพื่อนในน้ำแบบรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ก็เป็นเหตุให้เกิดการเสียชีวิตได้ ขณะที่การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กกลุ่มอายุ 10 ปีขึ้นไป สาเหตุจะเหมือนกับเด็กกลุ่ม 6-10 ปี แต่จะบวกด้วยความก้าวร้าว การเล่นแบบคึกคะนองมากขึ้น บางทีก็มีเรื่องแอลกอฮอล์ด้วย แต่กลุ่มนี้ถ้าว่ายน้ำเป็นก็ลดไปได้ส่วนหนึ่งแล้ว แต่ต้องมาสู้กับฮอร์โมนของวัยรุ่นและอัตราการเสียชีวิตในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มีแนวโน้มลดลงในระยะ 4-5 ปีที่ผ่านมานี้ ขณะที่เด็กกลุ่มอายุ 6-9 ปี อัตราการเสียชีวิตไม่ลดลง แต่กลับเพิ่มขึ้น โดยเด็กที่จมน้ำส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย เป็นอัตราส่วนผู้ชายต่อผู้หญิงประมาณ 2 ต่อ 1 ถ้าเปรียบเทียบเมืองกับชนบท ภาพรวมชนบทตายมากกว่า เมื่อดูในกลุ่มเด็กอายุตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป ซึ่งมีอัตราการตายมากกว่ามาโดยตลอดถึงปัจจุบัน แต่ถ้าในกลุ่มอายุน้อยกว่า 5 ปี เด็กในเมือง ทั้งที่เป็นเมืองอยู่แล้วหรือกำลังโต กลับพบว่าอัตราการตายในสังคมเมืองมีมากกว่าในสังคมชนบท (ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก โรงพยาบาลรามาธิบดี) ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง มีลักษณะพื้นที่ที่มีลำคลองไหลผ่านทั้ง 4 ชุมชน โดยชุมชนตลาดสด และชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล จะมีลำคลองสายมำบังไหลผ่าน ส่วนชุมชนวัดดุลยารามและชุมชนชุมสายโทรศัพท์ จะมีลำคลองสายห้วยชั่งทองไหลผ่าน และในทุกๆ ปีจะเกิดอุทกภัยน้ำท่วมที่รุนแรง ซึ่งทำให้ลำคลองทั้ง 2 สายต่างก็มีระดับน้ำที่ค่อนข้างสูง มีการไหลเชี่ยวของสายน้ำค่อนข้างแรง และทำให้น้ำในลำคลองทั้ง 2 สายล้นตลิ่ง น้ำไหลเข้าท่วมในเขตชุมชน จึงมีจุดเสี่ยงที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุจมน้ำอยู่หลายพื้นที่ และเมื่อเวลาเกิดอุทกภัยน้ำท่วมเด็กในเขตและนอกเขตจะพากันมาเล่นน้ำโดยที่ไม่มีผู้ปกครองดูแล ในปี 2559 พบว่า มีเด็กในเขตพื้นที่ชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลจมน้ำเสียชีวิต 1ราย เนื่องจากผู้ปกครองขาดทักษะในการช่วยเหลือคนตกน้ำ และมีเด็กนอกเขตจมน้ำเสียชีวิตอีก 1 ราย บริเวณรอยต่อสะพานคลองมำบังระหว่างชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลและนอกเขตเทศบาลตำบลฉลุง ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลฉลุง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ และทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำ จึงได้จัดทำโครงการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันเด็กจมน้ำขึ้น ในปี 2560 แต่ยังพบว่าการจัดทำโครงการดังกล่าวยังมีกลุ่มเป้าหมายบางส่วนได้รับความรู้และฝึกทักษะยังไม่เพียงพอ เนื่องจากระยะเวลาในการอบรมมีน้อยและมีความต่างของช่วงอายุค่อนข้างมาก ผู้เข้ารับการอบรมความรู้และทักษะ ดังกล่าวจะต้องได้รับการฟื้นฟูอย่างสม่ำเสมอ จึงจะสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์จริงได้ และจากการดำเนินโครงการดังกล่าวพบว่ากลุ่มเป้าหมายยังไม่ครอบคลุมถึงผู้ปกครองที่จะต้องใช้ในการดูแลบุตรหลาน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันเด็กจมน้ำ (ครั้งที่ 2) เทศบาลตำบลฉลุงอำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ และพื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีทักษะในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชน และเพื่อให้แกนนำจิตอาสาในชุมชนเพิ่มศักยภาพในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะส่งผลทำให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้ มีทักษะในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ และมีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ และพื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้
  2. เพื่อให้เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชน มีทักษะในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้อย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อให้เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชน มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชน
  4. เพื่อให้แกนนำจิตอาสาในชุมชน เพิ่มศักยภาพในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้
  5. เพื่อให้เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชนสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องสถานการณ์เด็กจมน้ำและปัจจัยเสี่ยงในการเกิด การจมน้ำ
  2. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเรื่องการฟื้นคืนชีพ (CPR) พร้อมฝึกปฏิบัติ
  3. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ โดยฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำ พร้อมประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม(ลงสระว่ายน้ำ)
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องวิธีช่วยเหลือคนตกน้ำ/จมน้ำ (ตะโกน โยน ยื่น) ทักษะการช่วยเหลือคนจมน้ำพร้อมฝึกปฏิบัติกับอุปกรณ์ช่วยชีวิต
  5. กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์
  6. อบรมเชิงปฏิบัติการ โดยฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำและประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม และอบรมเชิงปฏิบัติการวิธีช่วยเหลือคนตกน้ำ/จมน้ำ(จมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น)ทักษะการช่วยเหลือคนจมน้ำพร้อมประเมินและทดสอบโดยการจำลองสถานการณ์เป็นรายกลุ่ม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้
  2. เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชนมีทักษะในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้
  3. เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชน มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชน
  4. แกนนำจิตอาสาในชุมชน เพิ่มศักยภาพในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้
  5. เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชนมีการสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเรื่องการฟื้นคืนชีพ (CPR) พร้อมฝึกปฏิบัติ

วันที่ 11 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อภิปรายให้ความรู้เรื่องการฟื้นคืนชีพ (CPR) พร้อมฝึกปฏิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชน และแกนนำจิตอาสาในชุมชน มีทักษะในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้อย่างต่อเนื่อง จากการฝึกปฏิบัติทักษะในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ ซึ่งทดสอบเป็นรายกลุ่มพบว่า ทุกคนสามารถทำได้ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 โดยมีเนื้อหาการอบรม ดังนี้ (1) การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) หรือ การกู้ชีวิต หรือการกู้ชีพ หมายถึง การปฏิบัติการเพื่อช่วยฟื้นการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด ที่หยุดทำงานอย่างกะทันหัน เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเองได้ตามปกติ โดยไม่เกิดความพิการของสมอง   ซึ่งเมื่อเราพบคนหมดสติ สิ่งแรกที่ควรมี คือ สติ และสิ่งที่สำคัญ คือ ความปลอดภัยของผู้ให้การช่วยเหลือและผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือแล้วจะประเมินสถานการณ์หรือประเมินสภาพผู้ป่วย การประเมินสภาพผู้ป่วยเจ็บเบื้องต้น ๑. ตรวจระดับความรู้สึกตัว โดยการเรียกผู้ป่วยเจ็บและตีที่ไหล่เบา ๆ
๒. ร้องขอความช่วยเหลือ
๓. ตรวจทางเดินหายใจ นำสิ่งแปลกปลอมและฟันปลอมออกจากปาก แล้วเปิดทางเดินหายใจ โดยใช้สันมือกดหน้าผาก ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลาง ของมืออีกข้างหนึ่งเชยคางให้แหงนหน้าขึ้น ๔. ตรวจการหายใจ โดยสังเกตการเคลื่อนไหวของหน้าอก และ ลมหายใจ ใช้หลักตาดู หูฟัง แก้มสัมผัส ๕. ตรวจหาการบาดเจ็บ โดยตรวจตั้งแต่ศีรษะ จรดปลายเท้า
ขั้นตอนการกู้ฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในผู้ใหญ่ ๑. ตรวจระดับความรู้สึกตัวโดยการเรียกผู้ป่วยเจ็บ และตีที่ไหล่เบา ๆ
๒. ร้องขอความช่วยเหลือ และพลิกผู้ป่วยเจ็บให้นอนหงายราบบนพื้นเรียบแข็ง
๓. ถ้าผู้ป่วยเจ็บไม่ตอบสนอง ให้ช่วยการไหลเวียนโลหิตโดยการกดหน้าอก 30 ครั้ง ด้วยอัตราเร็วมากกว่า ๑๐๐ ครั้งต่อนาที กดลึก ๒ นิ้ว หรือ ๕ เซนติเมตร (ใช้มือข้างหนึ่งวางและใช้มืออีกข้างวางทับ แล้วใช้ส้นมือกดที่กึ่งกลางหน้าอก ) ๔. เปิดทางเดินหายใจ โดยใช้สันมือกดหน้าผาก ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมืออีกข้างหนึ่งเชยคางให้หน้าแหงนขึ้น และช่วยหายใจ โดยการเป่าปาก ๒ ครั้ง ครั้งละ ๑ วินาที
๕. หลังจากนั้นให้กดหน้าอกสลับกับการเป่าปาก ด้วยอัตรา ๓๐ ต่อ ๒ (นับเป็น ๑ รอบ) ประเมินผลการกู้ชีพทุก ๕ รอบ (ใช้เวลา ๒ นาที)
ในกรณีที่มีผู้ปฏิบัติการกู้ชีพมาช่วยเหลือเพิ่มขึ้น ควรสลับหน้าที่ของผู้ที่กดหน้าอก กับผู้ที่เป่าปากทุก ๒ นาที หรือทุก ๕ รอบ หมายเหตุ: ในกรณีไม่สามารถช่วยเป่าปากได้ สามารถใช้การกดหน้าอกอย่างต่อเนื่อง ด้วยอัตราเร็วมากกว่า ๑๐๐ ครั้งต่อนาที

 

50 0

2. อบรมให้ความรู้เรื่องสถานการณ์เด็กจมน้ำและปัจจัยเสี่ยงในการเกิด การจมน้ำ

วันที่ 11 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อภิปรายให้ความรู้เรื่องสถานการณ์เด็กจมน้ำและปัจจัยเสี่ยงในการเกิด การจมน้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชน และแกนนำจิตอาสาในชุมชนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำและพื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้ จากการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำและพื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ โดยใช้เกณฑ์แปลผล ดังนี้
1. ระดับคะแนน 9-10  แปลผลว่า มีความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด
2.ระดับคะแนน 7-8 แปลผลว่า มีความรู้อยู่ในระดับมาก
3.ระดับคะแนน 5-6  แปลผลว่า มีความรู้อยู่ในระดับปานกลาง
4.ระดับคะแนน 3-4  แปลผลว่า มีความรู้อยู่ในระดับน้อย
5.ระดับคะแนน 1-2 แปลผลว่า มีความรู้อยู่ในระดับน้อยที่สุด

ตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม

กลุ่มเป้าหมาย จำนวน เกณฑ์แปลผล ทดสอบความรู้ ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 1.เด็กและเยาวชน 30 มากที่สุด 0 0 20 66.67 มาก 9 30 7 23.33 ปานกลาง 17 56.7 3 10 น้อย 4 13.3 0 0 น้อยที่สุด 0 0 0 0 รวม 30 100 30 100 2.แกนนำจิตอาสา 20 มากที่สุด 0 0 16 80 มาก 11 55 4 20 ปานกลาง 9 45 0 0 น้อย 0 0 0 0 น้อยที่สุด 0 0 0 0 รวม 20 100 30 100

จากตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมกลุ่มเป้าหมาย 1. เด็กและเยาวชนมีความรู้อยู่ในระดับมาก จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 30 ระดับปานกลาง จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 56.7 และระดับน้อย จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.3กลุ่มเป้าหมาย2.แกนนำจิตอาสา มีความรู้อยู่ในระดับมาก จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 55 และระดับปานกลาง จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 45 หลังการอบรมกลุ่มเป้าหมาย 1. เด็กและเยาวชน มีความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ระดับมาก จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.33 และระดับปานกลาง จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 กลุ่มเป้าหมาย 2.แกนนำจิตอาสามีความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 80 และระดับมาก จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 20

ตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมาย 1. เด็กและเยาวชน

ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 8 3 10 10 15 50 7 6 20 9 5 16.7 6 9 30 8 6 20 5 8 26.7 7 1 3.3 4 3 10 6 3 10 3 1 3.3 - - - รวม 30 100 รวม 30 100
จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย 1. เด็กและเยาวชนก่อนการอบรมได้คะแนนสูงสุดที่ 8 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 รองลงมา 7 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20คะแนนน้อยที่สุดที่ 3 คะแนน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 6 คะแนน จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 30หลังการอบรมได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7คะแนนน้อยที่สุดที่ 6 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 10 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม เด็กและเยาวชน มีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100

กลุ่มเป้าหมาย 2.แกนนำจิตอาสา

ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 8 5 25 10 12 60 7 6 30 9 4 20 6 3 15 8 2 10 5 6 30 7 2 10 รวม 20 100 รวม 20 100 จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย 2.แกนนำจิตอาสาก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 8 คะแนน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 25 รองลงมา 7 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 30 คะแนนน้อยที่สุดที่ 5 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 30 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 5 และ 7 คะแนน จำนวนละ 6 คน คิดเป็นร้อยละ 30 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 60 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 20 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 10และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 60 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม 2.แกนนำจิตอาสา มีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปได้ว่าจาการทำแบบทดสอบทั้ง 2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1

 

50 0

3. กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์

วันที่ 12 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชน และแกนนำจิตอาสาในชุมชนสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน จากการเข้าร่วมกิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ให้ความร่วมมือที่ดีในการทำกิจกรรม มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกันทุกคน ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างเต็มใจ รู้จักการเสียสละแบ่งปัน ให้อภัยซึ่งกันและกัน รู้จักการแก้ปัญหาร่วมกัน รวมทั้งเกิดความสนุกสนาน เกิดรอยยิ้มที่จริงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ

 

50 0

4. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องวิธีช่วยเหลือคนตกน้ำ/จมน้ำ (ตะโกน โยน ยื่น) ทักษะการช่วยเหลือคนจมน้ำพร้อมฝึกปฏิบัติกับอุปกรณ์ช่วยชีวิต

วันที่ 12 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อภิปรายให้ความรู้เรื่องวิธีช่วยเหลือคนตกน้ำ/จมน้ำ (ตะโกน โยน ยื่น) ทักษะการช่วยเหลือคนจมน้ำพร้อมฝึกปฏิบัติกับอุปกรณ์ช่วยชีวิต 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทักษะในการช่วยเหลือตนเองในท่าต่างๆ เช่น
* ท่าลอยตัว มี 4 ท่า ได้แก่ ท่าปลาดาวหงาย ท่าปลาดาวคว่ำ ท่าแมงกะพรุน และท่าเต่า * ท่าว่ายน้ำเอาชีวิตรอด มี 2 ท่า ได้แก่ ท่าหมาตกน้ำ และท่ากรรเชียงหงาย ซึ่งก่อนที่จะทำท่าต่างๆ แกนนำด้านสุขภาพ ได้ฝึกการกำหนดลมหายใจใต้น้ำ และฝึกการเป่าลมใต้น้ำ ถึงแม้บางคนอาจจะทำได้ช้าแต่ทุกคนก็สามารถทำได้ทุกคน ทักษะในการช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ตะโกนขอความช่วยเหลือ ว่า “ช่วยด้วยๆมีคนตกน้ำ” 2. โยนอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวเพื่อให้คนตกน้ำเกาะจับพยุงตัว เช่น เชือก ถังแกนลอนพลาสติก ขวดพลาสติก หรือวัสดุที่ลอยน้ำได้ 3. ยื่นสิ่งของยาวๆที่อยู่ใกล้ตัวให้คนตกน้ำจับ เช่น ท่อนไม้ เข็มขัด ผ้าขาวม้า ยื่นอุปกรณ์ไปข้างใดข้างหนึ่ง แล้วจึงกวาดเข้าหาตัวคนที่ตกน้ำและดึงขึ้นฝั่ง     (3) ทักษะการใช้อุปกรณ์ต่างๆเพื่อช่วยเหลือคนตกน้ำ ดังนี้ (3.1) การโยนได้แก่ (3.1.1) การโยนเชือก * ท่ายืน โดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือที่ข้างเท้าที่ถนัดจับปลายเชือกไว้ มืออีกด้านถือเชือกไว้พร้อมที่จะโยน การโยนเชือกให้โยนเลยเหนือศีรษะคนตกน้ำระหว่างช่วงไหล่ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึงขาหลังงอ (3.1.2) การโยนห่วงชูชีพ * ท่าโยนเหนือศีรษะโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี แล้วใช้มือทั้งสองข้างจับห่วงชูชีพยกขึ้นเหนือศีรษะ พร้อมทั้งโยนไปด้านหน้าของคนตกน้ำ ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ * ท่าโยนใต้ขาโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือทั้งสองข้างจับห่วงชูชีพถือไว้ระหว่างขาแล้วโยนไปด้านหน้าของคนตกน้ำ ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึงขาหลังงอ

  • ท่าโยนมือเดียว โดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือที่ถนัดจับห่วงชูชีพ แล้วกางแขนออกประมาณ 45 องศา โยนห่วงชูชีพไปด้านหน้าของคนตกน้ำขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง
    ขาหน้าตึงขาหลังงอ


    (3.1.3) การโยน Rescue Tube *ท่ายืน โดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือทั้งสองข้างจับ Rescue Tube แล้วโยน Rescue Tube ไปด้านหน้าของคนตกน้ำขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ (3.2) การยื่น ได้แก่ (3.2.1) การยื่นไม้
  • ท่ายืนโดยนำขาที่ถนัดก้าวไปข้างหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง ใช้มือทั้งสองข้างจับปลายไม้ไว้ในท่าที่ถนัด แล้วย่อขาด้านหน้าลง ขาหลังตึง พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปด้านข้างแล้วกวาดเข้าหาตัวคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้สาวไม้นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ
  • ท่านั่งโดยนั่งคุกเข่า 1 ข้าง ส่วนอีกข้างขาที่ถนัดให้ตั้งตรง ใช้มือทั้งสองข้างปลายไม้ไว้แนบข้างลำตัวข้างที่คุกเข่า พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปด้านข้างแล้วกวาดเข้าหาตัวคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้สาวไม้นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง และวางก้นไว้บนขาหลัง
  • ท่านอนโดยให้นอนคว่ำ แล้วใช้มือทั้งสองข้างจับปลายไม้ไว้ยื่นไปยังคนจมน้ำ เมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้คนช่วยพลิกตัวตะแคงและสาวไม้ดึงคนตกน้ำขึ้นมา (3.2.2) การยื่น Rescue Tube
  • ท่ายืนโดยนำขาที่ถนัดก้าวไปข้างหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง ใช้มือทั้งสองข้างจับ Rescue Tube แล้วย่อขาด้านหน้าลงพร้อมทั้งยื่น Rescue Tube ไปยังคนจมน้ำ เมื่อคนตกน้ำจับ Rescue Tube ได้ ให้สาว Rescue Tube นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาว Rescue Tube ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ
  • ท่านั่ง โดยนั่งคุกเข่า 1 ข้าง ส่วนอีกข้างขาที่ถนัดให้ตั้งตรง ใช้มือทั้งสองข้างปลายไม้ไว้แนบข้างลำตัวข้างที่คุกเข่า พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปหน้าคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับ Rescue Tube ได้ ให้สาว Rescue Tube นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง และวางก้นไว้บนขาหลัง

 

50 0

5. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ โดยฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำ พร้อมประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม(ลงสระว่ายน้ำ)

วันที่ 12 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการ โดยฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำ พร้อมประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม(ลงสระว่ายน้ำ) 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการจำลองสถานการณ์จมน้ำ พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 2 กลุ่ม ได้ทำการจำลองเหตุการณ์การจมน้ำเป็นรายกลุ่ม โดยในแต่ละกลุ่ม สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตามลำดับขั้นตอน ตั้งแต่การตั้งสติ มีผู้ควบคุมสถานการณ์ ความปลอดภัยของผู้ประสบเหตุ การประเมินสถานการณ์ การขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ การแบ่งภาระหน้าที่ในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ การจัดลำดับการช่วยเหลือ ซึ่งกลุ่มเป้าหมายได้ผ่านการประเมินทุกคน
ทักษะการลอยตัว
  (1.1) ทักษะการลอยตัวกับขวดพลาสติก วิธีการฝึก ให้นักเรียนยืนอยู่ในน้ำจับขวดน้ำดื่มพลาสติกเอนตัวไปข้างหลังยกขาทั้ง 2 ข้างขึ้นพยายามให้ลำตัวขนานกับน้ำหูจมน้ำหน้าเงยแอ่นหน้าอก (1.2) ทักษะการลอยตัวกับถุงพลาสติก วิธีการฝึก ให้นักเรียนยืนอยู่ในน้ำใส่มือทั้งสองข้างไว้ในถุงพลาสติกโดยชูมือขึ้นแล้วนำมือลงน้ำ เมื่อในถุงมีอากาศถุงก็จะพองออกให้ใช้มือรวบปิดปากถุงไว้ให้แน่น จับถังไว้ที่หน้าอกของตนเอง แล้วเอนตัวไปข้างหลังยกขาทั้ง 2 ข้างขึ้นพยายามให้ลำตัวขนานกับน้ำหูจมน้ำหน้าเงยแอ่นหน้าอก โดยจากการประเมินทักษะการลอยตัวทุกคนสามารถทำได้ทุกคน บางคนทำได้เร็ง บางคนทำได้ช้า แต่ทุกคนก็สามารถทำได้

 

50 0

6. อบรมเชิงปฏิบัติการ โดยฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำและประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม และอบรมเชิงปฏิบัติการวิธีช่วยเหลือคนตกน้ำ/จมน้ำ(จมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น)ทักษะการช่วยเหลือคนจมน้ำพร้อมประเมินและทดสอบโดยการจำลองสถานการณ์เป็นรายกลุ่ม

วันที่ 13 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการ โดยฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำและประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม และอภิปรายให้ความรู้วิธีช่วยเหลือคนตกน้ำ/จมน้ำ(ตะโกน โยน ยื่น) ทักษะการช่วยเหลือคนจมน้ำพร้อมประเมินและทดสอบโดยการจำลองสถานการณ์เป็นรายกลุ่ม(กลุ่มเด็ก เยาวชนฯ จำนวน 20 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการจำลองสถานการณ์จมน้ำ พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 2 กลุ่ม ได้ทำการจำลองเหตุการณ์การจมน้ำเป็นรายกลุ่ม โดยในแต่ละกลุ่ม สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตามลำดับขั้นตอน ตั้งแต่การตั้งสติ มีผู้ควบคุมสถานการณ์ ความปลอดภัยของผู้ประสบเหตุ การประเมินสถานการณ์ การขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ การแบ่งภาระหน้าที่ในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ การจัดลำดับการช่วยเหลือ ซึ่งกลุ่มเป้าหมายได้ผ่านการประเมินทุกคน
ทักษะการลอยตัว
  (1.1) ทักษะการลอยตัวกับขวดพลาสติก วิธีการฝึก ให้นักเรียนยืนอยู่ในน้ำจับขวดน้ำดื่มพลาสติกเอนตัวไปข้างหลังยกขาทั้ง 2 ข้างขึ้นพยายามให้ลำตัวขนานกับน้ำหูจมน้ำหน้าเงยแอ่นหน้าอก (1.2) ทักษะการลอยตัวกับถุงพลาสติก วิธีการฝึก ให้นักเรียนยืนอยู่ในน้ำใส่มือทั้งสองข้างไว้ในถุงพลาสติกโดยชูมือขึ้นแล้วนำมือลงน้ำ เมื่อในถุงมีอากาศถุงก็จะพองออกให้ใช้มือรวบปิดปากถุงไว้ให้แน่น จับถังไว้ที่หน้าอกของตนเอง แล้วเอนตัวไปข้างหลังยกขาทั้ง 2 ข้างขึ้นพยายามให้ลำตัวขนานกับน้ำหูจมน้ำหน้าเงยแอ่นหน้าอก โดยจากการประเมินทักษะการลอยตัวทุกคนสามารถทำได้ทุกคน บางคนทำได้เร็ง บางคนทำได้ช้า แต่ทุกคนก็สามารถทำได้

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 50 คนแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ 1.เด็กและเยาวชน จำนวน 30 คน 2.แกนนำจิตอาสา 20 คน คิดเป็นร้อยละ 100 1.1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1เพื่อให้เด็กและเยาวชน และแกนนำจิตอาสาในชุมชนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำและพื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้ จากการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำและพื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ โดยใช้เกณฑ์แปลผล ดังนี้
1. ระดับคะแนน 9-10  แปลผลว่า มีความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด
2.ระดับคะแนน 7-8 แปลผลว่า มีความรู้อยู่ในระดับมาก
3.ระดับคะแนน 5-6  แปลผลว่า มีความรู้อยู่ในระดับปานกลาง
4.ระดับคะแนน 3-4  แปลผลว่า มีความรู้อยู่ในระดับน้อย
5.ระดับคะแนน 1-2 แปลผลว่า มีความรู้อยู่ในระดับน้อยที่สุด

ตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม

กลุ่มเป้าหมาย จำนวน เกณฑ์แปลผล ทดสอบความรู้ ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 1.เด็กและเยาวชน 30 มากที่สุด 0 0 20 66.67 มาก 9 30 7 23.33 ปานกลาง 17 56.7 3 10 น้อย 4 13.3 0 0 น้อยที่สุด 0 0 0 0 รวม 30 100 30 100 2.แกนนำจิตอาสา 20 มากที่สุด 0 0 16 80 มาก 11 55 4 20 ปานกลาง 9 45 0 0 น้อย 0 0 0 0 น้อยที่สุด 0 0 0 0 รวม 20 100 30 100

จากตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมกลุ่มเป้าหมาย 1. เด็กและเยาวชนมีความรู้อยู่ในระดับมาก จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 30 ระดับปานกลาง จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 56.7 และระดับน้อย จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.3กลุ่มเป้าหมาย2.แกนนำจิตอาสา มีความรู้อยู่ในระดับมาก จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 55 และระดับปานกลาง จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 45 หลังการอบรมกลุ่มเป้าหมาย 1. เด็กและเยาวชน มีความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ระดับมาก จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.33 และระดับปานกลาง จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 กลุ่มเป้าหมาย 2.แกนนำจิตอาสามีความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 80 และระดับมาก จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 20

ตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมาย 1. เด็กและเยาวชน

ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 8 3 10 10 15 50 7 6 20 9 5 16.7 6 9 30 8 6 20 5 8 26.7 7 1 3.3 4 3 10 6 3 10 3 1 3.3 - - - รวม 30 100 รวม 30 100
จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย 1. เด็กและเยาวชนก่อนการอบรมได้คะแนนสูงสุดที่ 8 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 รองลงมา 7 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20คะแนนน้อยที่สุดที่ 3 คะแนน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 6 คะแนน จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 30หลังการอบรมได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7คะแนนน้อยที่สุดที่ 6 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 10 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม เด็กและเยาวชน มีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100

กลุ่มเป้าหมาย 2.แกนนำจิตอาสา

ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 8 5 25 10 12 60 7 6 30 9 4 20 6 3 15 8 2 10 5 6 30 7 2 10 รวม 20 100 รวม 20 100 จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย 2.แกนนำจิตอาสาก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 8 คะแนน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 25 รองลงมา 7 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 30 คะแนนน้อยที่สุดที่ 5 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 30 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 5 และ 7 คะแนน จำนวนละ 6 คน คิดเป็นร้อยละ 30 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 60 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 20 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 10และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 60 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม 2.แกนนำจิตอาสา มีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปได้ว่าจาการทำแบบทดสอบทั้ง 2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1

1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2เพื่อให้เด็กและเยาวชน และแกนนำจิตอาสาในชุมชน มีทักษะในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้อย่างต่อเนื่อง จากการฝึกปฏิบัติทักษะในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ ซึ่งทดสอบเป็นรายกลุ่มพบว่า ทุกคนสามารถทำได้ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 โดยมีเนื้อหาการอบรม ดังนี้ (1) การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) หรือ การกู้ชีวิต หรือการกู้ชีพ หมายถึง การปฏิบัติการเพื่อช่วยฟื้นการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด ที่หยุดทำงานอย่างกะทันหัน เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเองได้ตามปกติ โดยไม่เกิดความพิการของสมอง   ซึ่งเมื่อเราพบคนหมดสติ สิ่งแรกที่ควรมี คือ สติ และสิ่งที่สำคัญ คือ ความปลอดภัยของผู้ให้การช่วยเหลือและผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือแล้วจะประเมินสถานการณ์หรือประเมินสภาพผู้ป่วย การประเมินสภาพผู้ป่วยเจ็บเบื้องต้น ๑. ตรวจระดับความรู้สึกตัว โดยการเรียกผู้ป่วยเจ็บและตีที่ไหล่เบา ๆ
๒. ร้องขอความช่วยเหลือ
๓. ตรวจทางเดินหายใจ นำสิ่งแปลกปลอมและฟันปลอมออกจากปาก แล้วเปิดทางเดินหายใจ โดยใช้สันมือกดหน้าผาก ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลาง ของมืออีกข้างหนึ่งเชยคางให้แหงนหน้าขึ้น ๔. ตรวจการหายใจ โดยสังเกตการเคลื่อนไหวของหน้าอก และ ลมหายใจ ใช้หลักตาดู หูฟัง แก้มสัมผัส ๕. ตรวจหาการบาดเจ็บ โดยตรวจตั้งแต่ศีรษะ จรดปลายเท้า
ขั้นตอนการกู้ฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในผู้ใหญ่ ๑. ตรวจระดับความรู้สึกตัวโดยการเรียกผู้ป่วยเจ็บ และตีที่ไหล่เบา ๆ
๒. ร้องขอความช่วยเหลือ และพลิกผู้ป่วยเจ็บให้นอนหงายราบบนพื้นเรียบแข็ง
๓. ถ้าผู้ป่วยเจ็บไม่ตอบสนอง ให้ช่วยการไหลเวียนโลหิตโดยการกดหน้าอก 30 ครั้ง ด้วยอัตราเร็วมากกว่า ๑๐๐ ครั้งต่อนาที กดลึก ๒ นิ้ว หรือ ๕ เซนติเมตร (ใช้มือข้างหนึ่งวางและใช้มืออีกข้างวางทับ แล้วใช้ส้นมือกดที่กึ่งกลางหน้าอก ) ๔. เปิดทางเดินหายใจ โดยใช้สันมือกดหน้าผาก ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมืออีกข้างหนึ่งเชยคางให้หน้าแหงนขึ้น และช่วยหายใจ โดยการเป่าปาก ๒ ครั้ง ครั้งละ ๑ วินาที
๕. หลังจากนั้นให้กดหน้าอกสลับกับการเป่าปาก ด้วยอัตรา ๓๐ ต่อ ๒ (นับเป็น ๑ รอบ) ประเมินผลการกู้ชีพทุก ๕ รอบ (ใช้เวลา ๒ นาที)
ในกรณีที่มีผู้ปฏิบัติการกู้ชีพมาช่วยเหลือเพิ่มขึ้น ควรสลับหน้าที่ของผู้ที่กดหน้าอก กับผู้ที่เป่าปากทุก ๒ นาที หรือทุก ๕ รอบ หมายเหตุ: ในกรณีไม่สามารถช่วยเป่าปากได้ สามารถใช้การกดหน้าอกอย่างต่อเนื่อง ด้วยอัตราเร็วมากกว่า ๑๐๐ ครั้งต่อนาที     (2) ทักษะในการช่วยเหลือตนเองในท่าต่างๆ เช่น
* ท่าลอยตัว มี 4 ท่า ได้แก่ ท่าปลาดาวหงาย ท่าปลาดาวคว่ำ ท่าแมงกะพรุน และท่าเต่า * ท่าว่ายน้ำเอาชีวิตรอด มี 2 ท่า ได้แก่ ท่าหมาตกน้ำ และท่ากรรเชียงหงาย ซึ่งก่อนที่จะทำท่าต่างๆ แกนนำด้านสุขภาพ ได้ฝึกการกำหนดลมหายใจใต้น้ำ และฝึกการเป่าลมใต้น้ำ ถึงแม้บางคนอาจจะทำได้ช้าแต่ทุกคนก็สามารถทำได้ทุกคน ทักษะในการช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ตะโกนขอความช่วยเหลือ ว่า “ช่วยด้วยๆมีคนตกน้ำ” 2. โยนอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวเพื่อให้คนตกน้ำเกาะจับพยุงตัว เช่น เชือก ถังแกนลอนพลาสติก ขวดพลาสติก หรือวัสดุที่ลอยน้ำได้ 3. ยื่นสิ่งของยาวๆที่อยู่ใกล้ตัวให้คนตกน้ำจับ เช่น ท่อนไม้ เข็มขัด ผ้าขาวม้า ยื่นอุปกรณ์ไปข้างใดข้างหนึ่ง แล้วจึงกวาดเข้าหาตัวคนที่ตกน้ำและดึงขึ้นฝั่ง     (3) ทักษะการใช้อุปกรณ์ต่างๆเพื่อช่วยเหลือคนตกน้ำ ดังนี้ (3.1) การโยนได้แก่ (3.1.1) การโยนเชือก * ท่ายืน โดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือที่ข้างเท้าที่ถนัดจับปลายเชือกไว้ มืออีกด้านถือเชือกไว้พร้อมที่จะโยน การโยนเชือกให้โยนเลยเหนือศีรษะคนตกน้ำระหว่างช่วงไหล่ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึงขาหลังงอ (3.1.2) การโยนห่วงชูชีพ * ท่าโยนเหนือศีรษะโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี แล้วใช้มือทั้งสองข้างจับห่วงชูชีพยกขึ้นเหนือศีรษะ พร้อมทั้งโยนไปด้านหน้าของคนตกน้ำ ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ * ท่าโยนใต้ขาโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือทั้งสองข้างจับห่วงชูชีพถือไว้ระหว่างขาแล้วโยนไปด้านหน้าของคนตกน้ำ ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึงขาหลังงอ

  • ท่าโยนมือเดียว โดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือที่ถนัดจับห่วงชูชีพ แล้วกางแขนออกประมาณ 45 องศา โยนห่วงชูชีพไปด้านหน้าของคนตกน้ำขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง
    ขาหน้าตึงขาหลังงอ


    (3.1.3) การโยน Rescue Tube *ท่ายืน โดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือทั้งสองข้างจับ Rescue Tube แล้วโยน Rescue Tube ไปด้านหน้าของคนตกน้ำขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ (3.2) การยื่น ได้แก่ (3.2.1) การยื่นไม้
  • ท่ายืนโดยนำขาที่ถนัดก้าวไปข้างหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง ใช้มือทั้งสองข้างจับปลายไม้ไว้ในท่าที่ถนัด แล้วย่อขาด้านหน้าลง ขาหลังตึง พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปด้านข้างแล้วกวาดเข้าหาตัวคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้สาวไม้นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ
  • ท่านั่งโดยนั่งคุกเข่า 1 ข้าง ส่วนอีกข้างขาที่ถนัดให้ตั้งตรง ใช้มือทั้งสองข้างปลายไม้ไว้แนบข้างลำตัวข้างที่คุกเข่า พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปด้านข้างแล้วกวาดเข้าหาตัวคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้สาวไม้นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง และวางก้นไว้บนขาหลัง
  • ท่านอนโดยให้นอนคว่ำ แล้วใช้มือทั้งสองข้างจับปลายไม้ไว้ยื่นไปยังคนจมน้ำ เมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้คนช่วยพลิกตัวตะแคงและสาวไม้ดึงคนตกน้ำขึ้นมา (3.2.2) การยื่น Rescue Tube
  • ท่ายืนโดยนำขาที่ถนัดก้าวไปข้างหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง ใช้มือทั้งสองข้างจับ Rescue Tube แล้วย่อขาด้านหน้าลงพร้อมทั้งยื่น Rescue Tube ไปยังคนจมน้ำ เมื่อคนตกน้ำจับ Rescue Tube ได้ ให้สาว Rescue Tube นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาว Rescue Tube ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ
  • ท่านั่ง โดยนั่งคุกเข่า 1 ข้าง ส่วนอีกข้างขาที่ถนัดให้ตั้งตรง ใช้มือทั้งสองข้างปลายไม้ไว้แนบข้างลำตัวข้างที่คุกเข่า พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปหน้าคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับ Rescue Tube ได้ ให้สาว Rescue Tube นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง และวางก้นไว้บนขาหลัง

    1.3 วัตถุประสงค์ข้อที่ 3เพื่อให้เด็กและเยาวชน และแกนนำจิตอาสาในชุมชน มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชน กลุ่มเป้าหมายทุกคนมีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชนของตนเอง โดยกลุ่มเป้าหมายได้มีการจัดตั้งเป็นกลุ่มจิตอาสาป้องกันการจมน้ำในชุมชนขึ้น โดยมีรายชื่อ ดังนี้
    1.  ด.ญ.พริมพิมาธังดิน 3.  ด.ช.อภิสิทธิ์ ศรีอินทรสุทธิ์ 5.  ด.ช.ภูวเนตร  แซ่ตัน
    7.  ด.ญ.ณัฐธิมา  ดวงรัตน์ 9.  ด.ญ.ชูฮาดา  หมาดมานัง 11.  ด.ญ.นัจมี  ระสุโสะ
    13.ด.ญ.นัซรีน่า  หลงสลำ 15.ด.ช.กล้าณรงค์  สมากัส

  1. ด.ช.ธนพัทธ์  สมากัส
  2. ด.ช.วุฒิพงศ์  จิระกุล
  3. น.ส.ณัฏฐธิดา รอดแก้ว
  4. ด.ญ.ลาตีฟะ  หมัดสา
    1. ด.ช.ภูเบศฎ์พูลสวัสดิ์ ๑0. ด.ญ.อัยญรินทร์ หอมนิยม
    2. ด.ญ.ดาริน  แก้วหนูนวล ๑4. ด.ช.วันชนะ  เขียนงาม
  5. นาย คณิน  แซ่ลิ่ม
  6. ด.ญ.ไพลิน  กองงาม
  7. ด.ญ.พชณัน  แซ่ลิ่ม ๒1. ด.ญ.สิรินดา  โกบปุเลา ๒3. ด.ช.ณัชดิศรณ์ทิคามี ๒5. ด.ญ.ธัญญรัตน์  ทิคามี ๒7. ด.ญ.วิลาสินี  สุวรรณรัตน์
  8. ด.ช.วีรภัทร  สุวรรณรัตน์
  9. ด.ช.พชร  ศรีนิ่ม
  10. ด.ช.ธนภัทร  ธรรมโชติ
  11. ด.ช.อธิภัทร กั่วพานิช
  12. ด.ช.ณัฐภัทรรอดแก้ว
  13. ด.ช.นิติธร  กั่วพานิช 41. ด.ช.อนัตตา  เจริญวิกกัย
  14. นางแสงจันทร์ แซ่ลิ่ม 45.นางชญาณ์นินท์สุวรรณรัตน์
  15. นางพิมพ์ชนก  ทิคามี
  16. นางบุญเอื้อ  อังสุธรรม
  17. นางสาวจงกล  ยี่สุ่นศรี
  18. นางจิต  กั่วพานิช
  19. นางฉอ้อน อังสุธรรม
  20. นางจินดา กั่วพานิช
  21. นางจุฑารัตน์ แก้วหนูนวล 30.นางสาวมาริสา  อับดุล 32.นางเพ็ญนภา  ชาตะพันธ์
  22. นายชัยยุทธศิริขันตยกุล
  23. นางสาวสะน๊ะ หมาดเต๊ะ
  24. นางรัชนีวรรณ เขียนงาม
  25. นางผุสดี จันทร์มี
  26. นางสาวสุนีย์ จบศรี
  27. นายนัน  หมาดมานัง
  28. นายอุเส็น  ระสุโสะ
  29. นางสาวยุพดี  พลประสิทธิ์
  30. นางอาจ์ลดา  จงเปาหยิน

    มีหน้าที่ ดังนี้
  31. เฝ้าระวังป้องกันการจมน้ำในชุมชน
  32. สำรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการจมน้ำในชุมชน
  33. ประชาสัมพันธ์ เตือนภัยสถานการณ์น้ำ
  34. แก้ปัญหาเบื้องต้นพร้อมประสานงานเมื่อพบผู้ประสบเหตุ

    1.4 วัตถุประสงค์ข้อที่ 4เพื่อให้เด็กและเยาวชน และแกนนำจิตอาสาในชุมชน เพิ่มศักยภาพในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ จากการฝึกปฏิบัติทักษะในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำพบว่า ทุกคนสามารถทำได้ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 4 โดยมีเนื้อหาการอบรม ดังนี้ (1) ทักษะการลอยตัว
      (1.1) ทักษะการลอยตัวกับขวดพลาสติก วิธีการฝึก ให้นักเรียนยืนอยู่ในน้ำจับขวดน้ำดื่มพลาสติกเอนตัวไปข้างหลังยกขาทั้ง 2 ข้างขึ้นพยายามให้ลำตัวขนานกับน้ำหูจมน้ำหน้าเงยแอ่นหน้าอก (1.2) ทักษะการลอยตัวกับถุงพลาสติก วิธีการฝึก ให้นักเรียนยืนอยู่ในน้ำใส่มือทั้งสองข้างไว้ในถุงพลาสติกโดยชูมือขึ้นแล้วนำมือลงน้ำ เมื่อในถุงมีอากาศถุงก็จะพองออกให้ใช้มือรวบปิดปากถุงไว้ให้แน่น จับถังไว้ที่หน้าอกของตนเอง แล้วเอนตัวไปข้างหลังยกขาทั้ง 2 ข้างขึ้นพยายามให้ลำตัวขนานกับน้ำหูจมน้ำหน้าเงยแอ่นหน้าอก โดยจากการประเมินทักษะการลอยตัวทุกคนสามารถทำได้ทุกคน บางคนทำได้เร็ง บางคนทำได้ช้า แต่ทุกคนก็สามารถทำได้


    (2) จำลองสถานการณ์การช่วยเหลือคนจมน้ำ   จากการจำลองสถานการณ์จมน้ำ พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 2 กลุ่ม ได้ทำการจำลองเหตุการณ์การจมน้ำเป็นรายกลุ่ม โดยในแต่ละกลุ่ม สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตามลำดับขั้นตอน ตั้งแต่การตั้งสติ มีผู้ควบคุมสถานการณ์ ความปลอดภัยของผู้ประสบเหตุ การประเมินสถานการณ์ การขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ การแบ่งภาระหน้าที่ในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ การจัดลำดับการช่วยเหลือ ซึ่งกลุ่มเป้าหมายได้ผ่านการประเมินทุกคน
    1.4 วัตถุประสงค์ข้อที่ 5เพื่อให้เด็กและเยาวชน และแกนนำจิตอาสาในชุมชนสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน จากการเข้าร่วมกิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ให้ความร่วมมือที่ดีในการทำกิจกรรม มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกันทุกคน ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างเต็มใจ รู้จักการเสียสละแบ่งปัน ให้อภัยซึ่งกันและกัน รู้จักการแก้ปัญหาร่วมกัน รวมทั้งเกิดความสนุกสนาน เกิดรอยยิ้มที่จริงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ และพื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ และพื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้ ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชน มีทักษะในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชน มีทักษะในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชน มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชน
ตัวชี้วัด : เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชน มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชน ร้อยละ 100
0.00

 

4 เพื่อให้แกนนำจิตอาสาในชุมชน เพิ่มศักยภาพในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้
ตัวชี้วัด : แกนนำจิตอาสาในชุมชน เพิ่มศักยภาพในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ ร้อยละ 80
0.00

 

5 เพื่อให้เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชนสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ตัวชี้วัด : เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชนมีการสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันได้ ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 30
กลุ่มวัยทำงาน 20 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ และพื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้ (2) เพื่อให้เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชน มีทักษะในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้อย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อให้เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชน มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชน (4) เพื่อให้แกนนำจิตอาสาในชุมชน เพิ่มศักยภาพในการช่วยเหลือคนจมน้ำและทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ (5) เพื่อให้เด็ก เยาวชน คณะกรรมการสภาเด็กเยาวชนเทศบาลตำบลฉลุงและแกนนำจิตอาสาในชุมชนสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องสถานการณ์เด็กจมน้ำและปัจจัยเสี่ยงในการเกิด การจมน้ำ  (2) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเรื่องการฟื้นคืนชีพ (CPR) พร้อมฝึกปฏิบัติ (3) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ โดยฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำ พร้อมประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม(ลงสระว่ายน้ำ)  (4) อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องวิธีช่วยเหลือคนตกน้ำ/จมน้ำ (ตะโกน โยน ยื่น) ทักษะการช่วยเหลือคนจมน้ำพร้อมฝึกปฏิบัติกับอุปกรณ์ช่วยชีวิต (5)      กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์ (6) อบรมเชิงปฏิบัติการ โดยฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำและประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม และอบรมเชิงปฏิบัติการวิธีช่วยเหลือคนตกน้ำ/จมน้ำ(จมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น)ทักษะการช่วยเหลือคนจมน้ำพร้อมประเมินและทดสอบโดยการจำลองสถานการณ์เป็นรายกลุ่ม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันเด็กจมน้ำ เทศบาลตำบลฉลุงอำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 (รุ่นที่ 2)

รหัสโครงการ 61-L7580-2-06 ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2561 - 15 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันเด็กจมน้ำ เทศบาลตำบลฉลุงอำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 (รุ่นที่ 2) จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L7580-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด