กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ”
ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาตีฮะแวดอเล๊าะ




ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน

ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2516-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2516-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – ๗๒ เดือน ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม หากเด็กได้รับความรัก ความอบอุ่น การอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสมถูกต้อง ส่งเสริมพัฒนาการและประสบการณ์เรียนรู้ที่สอดคล้องกับวัยของเด็ก ได้รับอาหารถูกหลักโภชนาการ การดูแลเอาใจใส่ ความมั่นคงปลอดภัย เด็กวัยนี้จะมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง พัฒนาการสมวัยทุกด้านทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจและสังคม พร้อมที่จะเติบโตเป็นประชากรที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต จากรายงานภาวะโภชนาการเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลสาวอ พบว่า มีเด็กที่มีภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน ๒๑ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๐๗ เด็กที่มีภาวะโภชนาการเตี้ย ๒๙ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๖๗ และมีเด็กที่มีภาวะโภชนาการผอม ๗ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔.๐๒ ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่มีระดับความรุนแรงสูงในระดับหนึ่ง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องให้ความร่วมมือกันในการแก้ปัญหาดังกล่าว ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลสาวอ ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสาวอได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้มีการจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาสประจำปี 25๖๐

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดภาวะการขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน
  2. 2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการจัดอาหารได้ถูกต้อง
  3. 3. เพื่อเสริมสร้างให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 95
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 95
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กแรกเกิด เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการทุกคน
    2. ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการและการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กแรกเกิด เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    3. เด็กแรกเกิด เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการที่สมวัย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดประชุมให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และ ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - 72 เดือน

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้หลังจากเข้ารับการอบรมสามารถตอบคำถามได้ถูกต้องสูงสุดในช่วง ๗ – ๘ ข้อ เป็นจำนวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ ๘๘.42 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบความรู้ก่อนรับการอบรมผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตอบคำถามได้สูงสุดในช่วง ๗ – ๘ ข้อ เป็นจำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐.00 ดังนั้นเห็นได้ว่าการจัดอบรมให้ความรู้สามารถทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน ได้มากขึ้น

    ข้อเสนอแนะ อาหารและโภชนาการในช่วงวัยทารกและเด็กเล็ก เป็นพื้นฐานสำคัญของการมีสุขภาพและสติปัญญาที่ดีในระยะยาว และยังมีความสำคัญมากต่อการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคกระดูกพรุน และมะเร็งบางชนิด เป็นต้น ดังนั้นการเติมเต็มองค์ความรู้ด้านโภชนาการให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงมีความสำคัญ เพื่อให้เด็กได้รับบริการด้านโภชนาการที่ครบถ้วนอย่างมีคุณภาพ รวมทั้งพ่อแม่/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะด้านโภชนาการในการให้อาหารตามวัยที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดบริโภคนิสัยที่ดี เด็กจะได้รับพลังงานและสารอาหารครบถ้วน เพียงพอได้สมดุล ส่งผลต่อการสร้างเซลล์สมอง ระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก และอวัยวะต่างๆให้มีความสมบูรณ์ ทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เด็กจะมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ พร้อมที่จะเป็นประชากรที่มีคุณภาพของประเทศต่อไปในอนาคต

     

    95 95

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    บทสรุป โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน

    จากการดำเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน ระหว่างวันที่ 6-7 กรกฎาคม ๒๕60 มีผู้เข้าร่วมรับการอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชการในเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านจำนวน ๓๘ คน และผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน จำนวน 57 คน รวมทั้งหมด 95 คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

    ตารางที่ ๑ ผลการประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการอบรมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน ในกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครองเด็ก

    จำนวนข้อคำถาม (จำนวน ๑๐ ข้อ) จำนวนกลุ่มเป้าหมายตอบถูก (คน) ก่อนการอบรบ ร้อยละ หลังการอบรม ร้อยละ จำนวน ๐ – ๒ ข้อ ๐ ๐ ๐ ๐ จำนวน ๓ – ๔ ข้อ ๐ ๐ ๐ ๐ จำนวน ๕ – ๖ ข้อ 19 20.00 ๑๓ ๑3.68 จำนวน ๗ – ๘ ข้อ 76 ๘๐.00 84 ๘๘.42 จำนวน ๙ – ๑๐ ข้อ ๐ ๐ ๐ ๐ รวม 95 ๑๐๐.00 95 ๑๐๐.00
              จากตารางที่ 1 พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้หลังจากเข้ารับการอบรมสามารถตอบคำถามได้ถูกต้องสูงสุดในช่วง ๗ – ๘ ข้อ เป็นจำนวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ ๘๘.42 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบความรู้ก่อนรับการอบรมผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตอบคำถามได้สูงสุดในช่วง ๗ – ๘ ข้อ เป็นจำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐.00 ดังนั้นเห็นได้ว่าการจัดอบรมให้ความรู้สามารถทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน ได้มากขึ้น

    ข้อเสนอแนะ อาหารและโภชนาการในช่วงวัยทารกและเด็กเล็ก เป็นพื้นฐานสำคัญของการมีสุขภาพและสติปัญญาที่ดีในระยะยาว และยังมีความสำคัญมากต่อการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคกระดูกพรุน และมะเร็งบางชนิด เป็นต้น ดังนั้นการเติมเต็มองค์ความรู้ด้านโภชนาการให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงมีความสำคัญ เพื่อให้เด็กได้รับบริการด้านโภชนาการที่ครบถ้วนอย่างมีคุณภาพ รวมทั้งพ่อแม่/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะด้านโภชนาการในการให้อาหารตามวัยที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดบริโภคนิสัยที่ดี เด็กจะได้รับพลังงานและสารอาหารครบถ้วน เพียงพอได้สมดุล ส่งผลต่อการสร้างเซลล์สมอง ระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก และอวัยวะต่างๆให้มีความสมบูรณ์ ทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เด็กจะมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ พร้อมที่จะเป็นประชากรที่มีคุณภาพของประเทศต่อไปในอนาคต
    

    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ ผู้รับผิดชอบโครงการ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อลดภาวะการขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการจัดอาหารได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อเสริมสร้างให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 190
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 95
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 95
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดภาวะการขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการจัดอาหารได้ถูกต้อง (3) 3. เพื่อเสริมสร้างให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2516-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฟาตีฮะแวดอเล๊าะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด