กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ สร้างสุข ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย ปี 2562 ”

เทศบาลเมืองกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ สร้างสุข ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย ปี 2562

ที่อยู่ เทศบาลเมืองกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L6895-01-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ สร้างสุข ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย ปี 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ สร้างสุข ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ สร้างสุข ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L6895-01-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมของคนไทยเริ่มเปลี่ยนไปจากอดีต ดังจะเห็นได้จากบริบทการทำงาน เศรษฐกิจ และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป มีการแข่งขันทั้งทางด้านข่าวสารสารสนเทศและเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตของคนในสังคมต้องเร่งรีบและแข่งขันตามกลไกเศรษฐกิจ แต่ในความเจริญนั้นก่อให้เกิดปัญหาต่างๆเกิดขึ้นด้วย  ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน มีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น  จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ  มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย  บางคนเข้าใจว่าเปลี่ยนแปลงอิริยาบถในชีวิตประจำวันเป็นการออกกำลังกายอย่างหนึ่ง  จึงเป็นเหตุให้สุขภาพอ่อนแอลงและอาจประสบกับปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ตามมา เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง ความเครียด ฯลฯ การออกกำลังกายเป็นการสร้างสุขภาพที่ดี  ซึ่งการมีสุขภาพที่ดี  มิได้หมายถึงเพียงการมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพเท่านั้น  ต้องขึ้นอยู่กับประชาชนรู้จักการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงอยู่เสมอ  เพราะโรคบางโรคสามารถป้องกันได้ด้วยการออกกำลังกายดีกว่าการรอให้เกิดการเจ็บป่วยแล้วรักษา  จะทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรและงบประมาณในการดูแลรักษาจำนวนมาก การที่คนเรามีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่ดี    เมื่อสุขภาพกายดี  สุขภาพจิตก็ดีไปด้วย เป็นการสร้างและส่งเสริมความสุขทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ดังนั้น ประชาชนจึงควรมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ตนเองมีสุขภาพร่างกายและใจที่แข็งแรง ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง  ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้วยการออกกำลังกาย จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เป็นการกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เกิดความตระหนักและตื่นตัวเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายเพราะการออกกำลังกาย นอกจากจะเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรงผ่อนคลายอารมณ์ เสริมสร้างความสามัคคี และที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรังด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจถึงหลักการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ป้องกันอันตราย และบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้น
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเกิดการรวมกลุ่มออกกำลังกาย ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรัง
  3. เพื่อสร้างเครือข่ายด้านสุขภาพในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจหลักการออกกำลังกายที่ถูกต้อง สามารถป้องกันอันตรายและบาดเจ็บไม่ให้เกิดขึ้นจากการออกกำลังกาย
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการเสริมสร้างสุขภาพ ด้วยการออกกำลังกายยืดเหยียดร่างกายแบบโยคะพื้นฐานสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค metabolic ได้ระดับหนึ่ง
  3. เกิดเครือข่ายด้านสุขภาพส่งเสริมการออกกำลังกายในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 29 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • พิธีเปิดโครงการ
  • บรรยายเรื่อง หลักการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสมมีประสิทธิภาพและป้องกันการบาดเจ็บจากการออกกำลังกาย
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายเรื่องโยคะพื้นฐานและประโยชน์ของการฝึกโยคะ
  • พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • บรรายพร้อมฝึกปฏิบัติ เรื่อง การออกกำลังกายแบบโยคะพื้นฐาน
  • อภิปราย/ตอบข้อซักถาม/ประเมินความพึงพอใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงในเขต  ส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายยืดเหยียดร่างกายแบบโยคะพื้นฐาน  อันจะลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค Metabolic เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน  โรคอ้วนลงพุง  เป็นต้น  อีกทั้งเป็นสร้างเครือข่ายด้านสุขภาพในพื้นที่ร่วมด้วย  ซึ่งมีประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงเข้ารับการอบรม  จำนวน  80  คน  เมื่อวันที่  29  เมษายน  2562  ณ  อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง
    2.  การประเมินความพึงพอใจการดำเนินงานโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมตอบกลับใบประเมินความพึงพอใจ  จำนวน  80  คน สามารถสรุปผลได้ดังนี้
    1). เพศ ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 76 คน คิดเป็นร้อยละ 95 2). อายุ ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 51-60 ปี  28 คน คิดเป็นร้อยละ 35  รองลงมาเป็นช่วงอายุ 41-50 ปี 18 คน คิดเป็นร้อยละ 22.5  อายุมากกว่า 60 ปี  16 คนคิดเป็นร้อยละ 20  อายุ 31-40 ปี  11 คน คิดเป็นร้อยละ 13.75 อายุ 20-30 ปี  5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 และต่ำกว่า 20 ปี 2  คน  คิดเป็นร้อยละ 2.5 ตามลำดับ 3). การศึกษา ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยม 25 คนคิดเป็นร้อยละ 31.25 รองลงมาเป็นระดับประถมศึกษา 24 คน คิดเป็นร้อยละ 30 ระดับปริญญาตรี 21 คน คิดเป็นร้อยละ 26.25ระดับอนุปริญญา 9 คน คิดเป็นร้อยละ 11.25 และสูงกว่าปริญญาตรี 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.25 ตามลำดับ 4). อาชีพ ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่จำนวน 36 คนมีอาชีพค้าขาย คิดเป็นร้อยละ 45 รองลงมาอาชีพรับจ้าง 25 คน คิดเป็นร้อยละ 31.25 อาชีพข้าราชการบำนาญ 7 คน คิดเป็นร้อยละ 8.75 อาชีพเกษตร5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 อาชีพอื่นๆ 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5 และอาชีพ น.ร./นศ. 3 คนคิดเป็นร้อยละ 3.75 ตามลำดับ 5). ระดับความพึงพอใจในภาพรวมของการจัดกิจกรรมโครงการ
    5.1) ความรู้ความเข้าใจก่อนการฝึกอบรม อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 37.5
    5.2) ความรู้ความเข้าใจหลังการฝึกอบรม อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 67.5 5.3) เรียนรู้หลักการออกกำลังกายที่ถูกต้อง อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 50 5.4) สร้างเครือข่ายด้านสุขภาพ อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 60 5.5) รูปแบบและวิธีการจัดฝึกอบรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก  คิดเป็นร้อยละ 62.5
          รองลงมาอยู่ในระดับมากที่สุด ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 30 และ 7.5 ตามลำดับ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม  ควรจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายทุกปีเพื่อสร้างกระแสการออกกำลังกายให้ตื่นตัวมากขึ้น  และต้องการให้มีวิทยากรผู้นำออกกำลังกายมาสอนเป็นประจำและต่อยอดไปในท่าโยคะอื่นๆ  บางคนเสนอแนะการออกกำลังกายแบบไทเก๊กในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงในเขต ส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายยืดเหยียดร่างกายแบบโยคะพื้นฐาน  อันจะลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค Metabolic เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน  โรคอ้วนลงพุง เป็นต้น อีกทั้งเป็นสร้างเครือข่ายด้านสุขภาพในพื้นที่ร่วมด้วย ซึ่งมีประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงเข้ารับการอบรม จำนวน 80 คน  เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2562 ณ อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง
  2. การประเมินความพึงพอใจการดำเนินงานโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมตอบกลับใบประเมินความพึงพอใจ จำนวน 80 คน สามารถสรุปผลได้ดังนี้
    1). เพศ ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 76 คน คิดเป็นร้อยละ 95 2). อายุ ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 51-60 ปี 28 คน คิดเป็นร้อยละ 35 รองลงมาเป็นช่วงอายุ 41-50 ปี 18 คน คิดเป็นร้อยละ 22.5 อายุมากกว่า 60 ปี 16 คนคิดเป็นร้อยละ 20 อายุ 31-40 ปี 11 คน คิดเป็นร้อยละ 13.75 อายุ 20-30 ปี 5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 และต่ำกว่า 20 ปี 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5 ตามลำดับ 3). การศึกษา ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยม 25 คนคิดเป็นร้อยละ 31.25 รองลงมาเป็นระดับประถมศึกษา 24 คน คิดเป็นร้อยละ 30 ระดับปริญญาตรี 21 คน คิดเป็นร้อยละ 26.25ระดับอนุปริญญา 9 คน คิดเป็นร้อยละ 11.25 และสูงกว่าปริญญาตรี 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.25 ตามลำดับ 4). อาชีพ ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่จำนวน 36 คนมีอาชีพค้าขาย คิดเป็นร้อยละ 45 รองลงมาอาชีพรับจ้าง 25 คน คิดเป็นร้อยละ 31.25 อาชีพข้าราชการบำนาญ 7 คน คิดเป็นร้อยละ 8.75 อาชีพเกษตร5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 อาชีพอื่นๆ 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5 และอาชีพ น.ร./นศ. 3 คนคิดเป็นร้อยละ 3.75 ตามลำดับ 5). ระดับความพึงพอใจในภาพรวมของการจัดกิจกรรมโครงการ
    5.1) ความรู้ความเข้าใจก่อนการฝึกอบรม อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 37.5
    5.2) ความรู้ความเข้าใจหลังการฝึกอบรม อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 67.5 5.3) เรียนรู้หลักการออกกำลังกายที่ถูกต้อง อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 50 5.4) สร้างเครือข่ายด้านสุขภาพ อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 60 5.5) รูปแบบและวิธีการจัดฝึกอบรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 62.5
      รองลงมาอยู่ในระดับมากที่สุด ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 30 และ 7.5 ตามลำดับ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ควรจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายทุกปีเพื่อสร้างกระแสการออกกำลังกายให้ตื่นตัวมากขึ้น และต้องการให้มีวิทยากรผู้นำออกกำลังกายมาสอนเป็นประจำและต่อยอดไปในท่าโยคะอื่นๆ  บางคนเสนอแนะการออกกำลังกายแบบไทเก๊กในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
  3. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานกิจกรรมอบรมตามโครงการดังกล่าว เป็นเงิน  16,700.- บาท ดังรายละเอียดนี้   - ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน 4,200  บาท   - ค่าอาหารกลางวัน  เป็นเงิน 5,600  บาท   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  เป็นเงิน 4,800  บาท   - ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน  968  บาท   - ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน  300  บาท   - ค่าเอกสารประกอบการอบรมและถ่ายเอกสารอื่นๆ เป็นเงิน  832  บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจถึงหลักการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ป้องกันอันตราย และบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเกิดการรวมกลุ่มออกกำลังกาย ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรัง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อสร้างเครือข่ายด้านสุขภาพในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจถึงหลักการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ป้องกันอันตราย และบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้น (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเกิดการรวมกลุ่มออกกำลังกาย ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรัง (3) เพื่อสร้างเครือข่ายด้านสุขภาพในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพ สร้างสุข ลดโรค ด้วยการออกกำลังกาย ปี 2562 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L6895-01-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด