กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียง ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียง

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2562 – L8010 – 3 - 2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มิถุนายน 2562 ถึง 30 มิถุนายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียง



บทคัดย่อ

ปัจจุบันมีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงด้านระบาดวิทยาของการเจ็บป่วยของประชาชนจากโรคติดต่อแบบเฉียบพลันเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำมาซึ่งภาวะทุพพลภาพไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ต้องได้รับบริการดูแลแบบต่อเนื่อง โดยผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 70 ผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 70 ปี เมื่อเกิดแผลกดทับจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต 4-6 เท่า ซึ่งในปัจจุบันการใช้ที่นอนลม จะช่วยลดและกระจายแรงกดที่จะกดทับลงบนผิวหนังที่ทาบกับปุ่มกระดูก ส่งผลให้แรงกดระหว่างที่นอนกับผิวหนังลดลง ซึ่งสามารถลดการเกิดแผลกดทับได้

    ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ได้สำรวจข้อมูลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและพบว่า ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงนอนติดเตียง ไม่สามารถช่วยเหลือดูแลตัวเองได้ ยังขาดที่นอนลม เนื่องจากหน่วยบริการมีที่นอนลมมีอยู่จำกัด จึงทำให้ผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับมากขึ้น โดยการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้ป่วยติดเตียง) ผลการดำเนินโครงการพบว่า


กิจกรรมสำรวจผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองและมีระบบส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูและการดูแลตามระดับความจำเป็นในการดูแลระยะยาว โดยใช้แบบประเมินการทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้แบบประเมินคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง มีผู้สูงอายุทั้งหมด 2,342 คน ได้รับการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้แบบประเมินคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน  ตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล ทั้งหมด 2,342 คน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยผู้สูงอายุที่มีคะแนนประเมินเอดีแอล เท่ากับหรือน้อยกว่า 11 จำนวน 25 คน โดยจำแนกเป็น 4 กลุ่มตามความต้องการบริการด้านสาธารณสุข ดังนี้

กลุ่มที่ 1 เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน การขับถ่ายแต่ไม่มีภาวะสับสนทางสมอง จำนวน 14 คน

กลุ่มที่ 2 เหมือนกลุ่มที่ 1 แต่มีภาวะสับสนทางสมอง จำนวน 8 คน

กลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง จำนวน 3 คน

กลุ่มที่ 4 เหมือนกลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และมีอาการเจ็บป่วยรุนแรงหรืออยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต จำนวน 0 คน


กิจกรรมอบรมฟื้นฟูความรู้แก่ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และ ญาติ ผู้ดูแล ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 1 ครั้ง หลักสูตร 1 วัน

ตัวชี้วัดกิจกรรม ร้อยละ 90 ของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ญาติ ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า ก่อนการอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้อยู่ในกลุ่มไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23 ผ่านเกณฑ์พอใช้ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 73 ผ่านเกณฑ์ดี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4 หลังการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มผ่านเกณฑ์ดี จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 93 และอยู่ในกลุ่มผ่านเกณฑ์พอใช้ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 7 โดยผู้เข้ารับการอบรมมีคะแนนหลังการอบรมมากกว่าก่อนการอบรม จึงสรุปได้ว่าการจัดการอบรมครั้งนี้ ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น


กิจกรรมการให้บริการสาธารสุขแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ญาติและผู้ดูแล

ตัวชี้วัดกิจกรรม ร้อยละ 80 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้ป่วยติดเตียง)และ ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ผู้ป่วยติดเตียง) ที่มีแผลกดทับได้รับการดูแล และฟื้นฟูสภาพแผลกดทับให้ดีขึ้น จนหายเป็นปกติไม่มีภาวะแทรกซ้อน โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับและแบบประเมินระดับของแผลกดทับ(อ้างอิงจาก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า ร้อยละ 100 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับได้และร้อยละ 100 ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดแผลกดทับ


กิจกรรมการประชุม/ติดตามผล

ประชุม/ติดตามการดำเนินงานของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ โดยคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ จำนวน 1 ครั้ง พบว่า ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่ภาวะพึ่งพิงได้ปฏิบัติงานตามแผนการดำเนินงานและได้มีการประเมินการเกิดแผลกดทับพบว่า ร้อยละ 100 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับได้และร้อยละ 100 ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดแผลกดทับ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันมีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงด้านระบาดวิทยาของการเจ็บป่วยของประชาชนจากโรคติดต่อแบบเฉียบพลันเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำมาซึ่งภาวะทุพพลภาพไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ต้องได้รับบริการดูแลแบบต่อเนื่อง จากการศึกษาพบว่าผู้สูงอายุทุก 1 ใน 4 คน จะมีภาวะทุพพลภาพ โดยที่ร้อยละ 76 เป็นผู้ที่มีภาวะทุพพลภาพระยะยาวส่งผลให้ปัญหาการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและมีการใช้ทรัพยากรต่างๆในอัตราที่สูงขึ้น

  พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง มีประชากรทั้งหมด 13,659 คน จากการตรวจประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล พบผู้สูงอายุที่มีคะแนนเอดีแอลเท่ากับหรือน้อยกว่า 11 คะแนน (ติดบ้าน ติดเตียง) และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา ตรวจสอบสิทธิ์การรักษาและเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 25 ราย ราย แบ่งเป็น กลุ่มที่ 1 (เคลื่อนไหวได้บ้าง มีปัญหาการกิน/การขับถ่ายแต่ไม่มีภาวะสับสน) จำนวน 14 คน กลุ่มที่ 2 (เคลื่อนไหวได้บ้างมีภาวะสับสน และอาจมีปัญหาการกิน/การขับถ่าย) จำนวน 8 คน กลุ่มที่ ๓ (เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน/การขับถ่ายหรือเจ็บป่วยรุนแรง) จำนวน 3 คน และกลุ่มที่ 4 (เคลื่อนไหวเองไม่ได้ เจ็บป่วยรุนแรงหรืออยู่ในระยะท้ายของชีวิต) จำนวน 0 คน ซึ่งผู้สูงอายุในกลุ่มที่ 2 และ 3 มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหวและเป็นผู้ป่วยที่นอนติดเตียง จะส่งให้เกิดแผลกดทับได้ โดยผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 70 ผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 70 ปี เมื่อเกิดแผลกดทับจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต 4-6 เท่า เมื่อผู้สูงอายุเกิดแผลกดทับจะทำให้แผลหายช้า เนื่องจากเซลล์ผิวหนังมีจำนวนลดลง ปัจจัยที่เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดแผลกดทับได้แก่ แรงเสียดสี แรงเฉือน ความชื้น โดยเฉพาะแรงกดทับ เมื่อมีการกดทับผิวหนังที่ทาบกระดูกเป็นเวลานานกว่า 2-6 ชั่วโมง จะทำให้เกิดการอุดกั้นการไหลเวียนเลือดเกิดการตายของเนื้อเยื่อบริเวณนั้น ดังนั้นการลดระยะเวลาของการเกิดแรงกดหรือการกระจายแรงกดรวมถึงการลดระยะเวลาของการเกิดแรงกดที่เกิดขึ้นกับผิวหนัง จึงเป็นวิธีการป้องกันแผลกดทับที่ดีที่สุด ซึ่งในปัจจุบัน การใช้ที่นอนลม จะช่วยลดและกระจายแรงกดที่จะกดทับลงบนผิวหนังที่ทาบกับปุ่มกระดูก ส่งผลให้แรงกดระหว่างที่นอนกับผิวหนังลดลง ซึ่งสามารถลดการเกิดแผลกดทับได้

  ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ได้สำรวจข้อมูลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและพบว่า ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงนอนติดเตียง ไม่สามารถช่วยเหลือดูแลตัวเองได้ ยังขาดที่นอนลม เนื่องจากหน่วยบริการมีที่นอนลมมีอยู่จำกัด จึงทำให้ผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับมากขึ้น ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียง เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงได้รับการคัดกรอง ความสามารถในการดำเนินเนินชีวิตประจำวันและได้มีวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับได้ ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้รับการบริการสาธารณสุขอย่างครอบคลุมและทั่วถึง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้ป่วยติดเตียง)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 สำรวจผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และ ญาติ ผู้ดูแล ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  3. กิจกรรมที่ 3 การให้บริการสาธารสุขแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ญาติและผู้ดูแล
  4. กิจกรรมที่ 4 ประชุม/ติดตามผล
  5. กิจกรรมที่ 5 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 25
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุทุกคนได้รับการคัดกรองและมีระบบส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูและการดูแลตามระดับความจำเป็นในการดูแลระยะยาว ให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี
  2. ผู้สูงอายุได้รับการบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึง และครอบคลุม
  3. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการนอนติดเตียง และได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง
  4. ทุกชุมชน มีระบบสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ให้อยู่ในครอบครัวได้อย่างมีความสุข

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 สำรวจผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

วันที่ 1 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • สำรวจผู้สูงอายุในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป ปีละ 1 ครั้ง

  • ประเมินการทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้แบบประเมินคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล

  • สรุปข้อมูลผู้สูงอายุที่มีคะแนนประเมินเอดีแอล เท่ากับหรือน้อยกว่า 11 โดยจำแนกเป็น 4 กลุ่มตามความต้องการบริการด้านสาธารณสุข ดังนี้

กลุ่มที่ 1 เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน การขับถ่ายแต่ไม่มีภาวะสับสนทางสมอง

กลุ่มที่ 2 เหมือนกลุ่มที่ 1 แต่มีภาวะสับสนทางสมอง

กลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง

กลุ่มที่ 4 เหมือนกลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และมีอาการเจ็บป่วยรุนแรงหรืออยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองและมีระบบส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูและการดูแลตามระดับความจำเป็นในการดูแลระยะยาว โดยใช้แบบประเมินการทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้แบบประเมินคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง มีผู้สูงอายุทั้งหมด 2,342 คน ได้รับ  การประเมินการทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้แบบประเมินคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน  ตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล ทั้งหมด 2,342 คน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยผู้สูงอายุที่มีคะแนนประเมินเอดีแอล เท่ากับหรือน้อยกว่า 11 จำนวน 25 คน โดยจำแนกเป็น 4 กลุ่มตามความต้องการบริการด้านสาธารณสุข ดังนี้

กลุ่มที่ 1 เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน การขับถ่ายแต่ไม่มีภาวะสับสนทางสมอง จำนวน 14 คน

กลุ่มที่ 2 เหมือนกลุ่มที่ 1 แต่มีภาวะสับสนทางสมอง จำนวน 8 คน

กลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง จำนวน 3 คน

กลุ่มที่ 4 เหมือนกลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และมีอาการเจ็บป่วยรุนแรงหรืออยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต จำนวน 0 คน

 

0 0

2. กิจกรรมที่ 3 การให้บริการสาธารสุขแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ญาติและผู้ดูแล

วันที่ 1 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข ( Care Manager ; CM ) จัดทำแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan; CP) และปรึกษาปัญหารายกรณีกับสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง (care conference)
  2. CM จัดแบ่งผู้สูงอายุให้ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ( Care Giver ; CG ) แต่ละคนรับผิดชอบดูแล พร้อมจัดทำ CP รายสัปดาห์ และตารางการปฏิบัติงานมอบหมายให้ CG ปฏิบัติงาน ทั้งนี้ CG 1 คน ดูแลผู้สูงอายุ 2-3 คนต่อวัน วันละไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง 30 นาที โดย กลุ่มที่ 1 ให้บริการอย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง กลุ่มที่ 2 ให้บริการอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง กลุ่มที่ 3 ให้บริการอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง กลุ่มที่ 2 ให้บริการอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
  3. จัดประชุมวางแผน/ประเมิน/รายงานผล การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ผู้ป่วยติดเตียง)เป็นรายบุคคล แก่ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 4 ครั้ง
  4. CG ทำหน้าที่ให้บริการสาธารณสุขเบื้องต้น การดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐาน การจัดการสภาพแวดล้อม/บ้าน พร้อมทั้งให้คำแนะนำแก่ญาติและผู้ดูแล ตาม CP และประเมินการเกิดแผลกดทับของผู้สูงอายุและให้คำแนะนำได้อย่างถูกต้อง
  5. ประเมินความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับ (Braden’s Score) หากพบว่า ผู้สูงอายุมีแผลกดทับ ให้แจ้ง CM เพื่อทำหน้าที่ประสานงานแก่ทีมสหวิชาชีพในการดูแลอย่างถูกต้อง หรือรับการส่งต่อโรงพยาบาล
  6. CG บันทึกผลการเยี่ยมและการให้บริการสาธารณสุขตามแบบบันทึกการปฏิบัติงาน
  7. ศูนย์จัดหาวัสดุ อุปกรณ์การแพทย์ที่จำเป็นให้แก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงตาม CP เช่น แพมเพิส สำลีก้อน ถุงมือ เป็นต้น
  8. จ้างเหมาบริการหรือจ่ายค่าตอบแทน CG จ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาหรือค่าเบี้ยเลี้ยงแก่ CM และหรือบุคลากรสาธารณสุขที่มาช่วยปฏิบัติงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัวชี้วัดกิจกรรม ร้อยละ 80 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้ป่วยติดเตียง) และ ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ผู้ป่วยติดเตียง) ที่มีแผลกดทับได้รับการดูแล และฟื้นฟูสภาพแผลกดทับให้ดีขึ้น จนหายเป็นปกติไม่มีภาวะแทรกซ้อน โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับและแบบประเมินระดับของแผลกดทับ (อ้างอิงจาก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า ร้อยละ 100 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับได้และร้อยละ 100 ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดแผลกดทับ

 

48 0

3. กิจกรรมที่ 2 อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และ ญาติ ผู้ดูแล ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม เรื่องการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

  2. บรรยาย/สาธิต ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ช่วยเหลือตัวเองได้และนอนติดเตียง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัวชี้วัดกิจกรรม ร้อยละ 90 ของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ญาติ ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า

ก่อนการอบรม

  • ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้อยู่ในกลุ่มไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23

  • ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้อยู่ในกลุ่มผ่านเกณฑ์พอใช้ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 73

  • ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้อยู่ในกลุ่มผ่านเกณฑ์ดี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4

หลังการอบรม

  • ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มผ่านเกณฑ์ดี จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 93

  • ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้อยู่ในกลุ่มอยู่ในกลุ่มผ่านเกณฑ์พอใช้ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 7

โดยผู้เข้ารับการอบรม มีคะแนนหลังการอบรมมากกว่าก่อนการอบรม จึงสรุปได้ว่าการจัดการอบรมครั้งนี้ ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมีความรู้เพิ่มขึ้น

 

36 0

4. กิจกรรมที่ 4 ประชุม/ติดตามผล

วันที่ 22 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมติดตามการเกิดแผลกดทับในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง พร้อมทั้งติดตามผลการดำเนินงาน และปรับแผนการดูแลสุขภาพรายบุคคล
  2. ประเมินความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับ (Braden’s Score)
  3. ประเมินระดับของแผลกดทับ
  4. ประเมินความรู้ในการดูแลของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุม/ติดตามการดำเนินงานของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ โดยคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ จำนวน 1 ครั้ง พบว่า ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่ภาวะพึ่งพิงได้ปฏิบัติงานตามแผนการดำเนินงานและได้มีการประเมิน การเกิดแผลกดทับพบว่า ร้อยละ 100 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับได้และร้อยละ 100 ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดแผลกดทับ

 

26 0

5. กิจกรรมที่ 5 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 25 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำเอกสารนำเสนอโครงการ จำนวน 2 ครั้ง
  2. จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมสำรวจผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองและมีระบบส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูและการดูแลตามระดับความจำเป็นในการดูแลระยะยาว โดยใช้แบบประเมินการทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้แบบประเมินคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง มีผู้สูงอายุทั้งหมด 2,342 คน ได้รับการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้แบบประเมินคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน ตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล ทั้งหมด 2,342 คน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยผู้สูงอายุที่มีคะแนนประเมินเอดีแอล เท่ากับหรือน้อยกว่า 11 จำนวน 25 คน โดยจำแนกเป็น 4 กลุ่มตามความต้องการบริการด้านสาธารณสุข ดังนี้

กลุ่มที่ 1 เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน การขับถ่ายแต่ไม่มีภาวะสับสนทางสมอง จำนวน 14 คน

กลุ่มที่ 2 เหมือนกลุ่มที่ 1 แต่มีภาวะสับสนทางสมอง จำนวน 8 คน

กลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง จำนวน 3 คน

กลุ่มที่ 4 เหมือนกลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และมีอาการเจ็บป่วยรุนแรงหรืออยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต จำนวน 0 คน


กิจกรรมอบรมฟื้นฟูความรู้แก่ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และ ญาติ ผู้ดูแล ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 1 ครั้ง หลักสูตร 1 วัน

ตัวชี้วัดกิจกรรม ร้อยละ 90 ของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ญาติ ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า ก่อนการอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้อยู่ในกลุ่มไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23 ผ่านเกณฑ์พอใช้ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 73 ผ่านเกณฑ์ดี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4 หลังการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มผ่านเกณฑ์ดี จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 93 และอยู่ในกลุ่มผ่านเกณฑ์พอใช้ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 7 โดยผู้เข้ารับการอบรมมีคะแนนหลังการอบรมมากกว่าก่อนการอบรม จึงสรุปได้ว่าการจัดการอบรมครั้งนี้ ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น


กิจกรรมการให้บริการสาธารสุขแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ญาติและผู้ดูแล

ตัวชี้วัดกิจกรรม ร้อยละ 80 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้ป่วยติดเตียง)และ ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ผู้ป่วยติดเตียง) ที่มีแผลกดทับได้รับการดูแล และฟื้นฟูสภาพแผลกดทับให้ดีขึ้น จนหายเป็นปกติไม่มีภาวะแทรกซ้อน โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับและแบบประเมินระดับของแผลกดทับ(อ้างอิงจาก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า ร้อยละ 100 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับได้และร้อยละ 100 ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดแผลกดทับ


กิจกรรมการประชุม/ติดตามผล

ประชุม/ติดตามการดำเนินงานของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ โดยคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ จำนวน 1 ครั้ง พบว่า ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่ภาวะพึ่งพิงได้ปฏิบัติงานตามแผนการดำเนินงานและได้มีการประเมินการเกิดแผลกดทับพบว่า ร้อยละ 100 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับได้และร้อยละ 100 ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดแผลกดทับ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้ป่วยติดเตียง)
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้ป่วยติดเตียง) 2. ร้อยละ 90 ของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ญาติ ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ 3. ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองและมีระบบส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูและการดูแลตามระดับความจำเป็นในการดูแลระยะยาว 4. ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ผู้ป่วยติดเตียง) ที่มีแผลกดทับได้รับการดูแลและฟื้นฟูสภาพแผลกดทับให้ดีขึ้น จนหายเป็นปกติไม่มีภาวะแทรกซ้อน
80.00 100.00
  1. ร้อยละ 100 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับได้
  2. ร้อยละ 93 ของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ญาติ ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ
  3. ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองและมีระบบส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูและการดูแลตามระดับความจำเป็นในการดูแลระยะยาว
  4. ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ผู้ป่วยติดเตียง) ที่มีแผลกดทับได้รับการดูแลและฟื้นฟูสภาพแผลกดทับให้ดีขึ้นไม่มีภาวะแทรกซ้อน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 25 25
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ปัจจุบันมีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงด้านระบาดวิทยาของการเจ็บป่วยของประชาชนจากโรคติดต่อแบบเฉียบพลันเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำมาซึ่งภาวะทุพพลภาพไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ต้องได้รับบริการดูแลแบบต่อเนื่อง โดยผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 70 ผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 70 ปี เมื่อเกิดแผลกดทับจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต 4-6 เท่า ซึ่งในปัจจุบันการใช้ที่นอนลม จะช่วยลดและกระจายแรงกดที่จะกดทับลงบนผิวหนังที่ทาบกับปุ่มกระดูก ส่งผลให้แรงกดระหว่างที่นอนกับผิวหนังลดลง ซึ่งสามารถลดการเกิดแผลกดทับได้

    ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ได้สำรวจข้อมูลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและพบว่า ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงนอนติดเตียง ไม่สามารถช่วยเหลือดูแลตัวเองได้ ยังขาดที่นอนลม เนื่องจากหน่วยบริการมีที่นอนลมมีอยู่จำกัด จึงทำให้ผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับมากขึ้น โดยการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้ป่วยติดเตียง) ผลการดำเนินโครงการพบว่า


กิจกรรมสำรวจผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองและมีระบบส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูและการดูแลตามระดับความจำเป็นในการดูแลระยะยาว โดยใช้แบบประเมินการทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้แบบประเมินคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง มีผู้สูงอายุทั้งหมด 2,342 คน ได้รับการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้แบบประเมินคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน  ตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล ทั้งหมด 2,342 คน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยผู้สูงอายุที่มีคะแนนประเมินเอดีแอล เท่ากับหรือน้อยกว่า 11 จำนวน 25 คน โดยจำแนกเป็น 4 กลุ่มตามความต้องการบริการด้านสาธารณสุข ดังนี้

กลุ่มที่ 1 เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน การขับถ่ายแต่ไม่มีภาวะสับสนทางสมอง จำนวน 14 คน

กลุ่มที่ 2 เหมือนกลุ่มที่ 1 แต่มีภาวะสับสนทางสมอง จำนวน 8 คน

กลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง จำนวน 3 คน

กลุ่มที่ 4 เหมือนกลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และมีอาการเจ็บป่วยรุนแรงหรืออยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต จำนวน 0 คน


กิจกรรมอบรมฟื้นฟูความรู้แก่ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และ ญาติ ผู้ดูแล ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 1 ครั้ง หลักสูตร 1 วัน

ตัวชี้วัดกิจกรรม ร้อยละ 90 ของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ญาติ ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า ก่อนการอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้อยู่ในกลุ่มไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23 ผ่านเกณฑ์พอใช้ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 73 ผ่านเกณฑ์ดี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4 หลังการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มผ่านเกณฑ์ดี จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 93 และอยู่ในกลุ่มผ่านเกณฑ์พอใช้ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 7 โดยผู้เข้ารับการอบรมมีคะแนนหลังการอบรมมากกว่าก่อนการอบรม จึงสรุปได้ว่าการจัดการอบรมครั้งนี้ ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น


กิจกรรมการให้บริการสาธารสุขแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ญาติและผู้ดูแล

ตัวชี้วัดกิจกรรม ร้อยละ 80 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (ผู้ป่วยติดเตียง)และ ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ผู้ป่วยติดเตียง) ที่มีแผลกดทับได้รับการดูแล และฟื้นฟูสภาพแผลกดทับให้ดีขึ้น จนหายเป็นปกติไม่มีภาวะแทรกซ้อน โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับและแบบประเมินระดับของแผลกดทับ(อ้างอิงจาก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า ร้อยละ 100 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับได้และร้อยละ 100 ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดแผลกดทับ


กิจกรรมการประชุม/ติดตามผล

ประชุม/ติดตามการดำเนินงานของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ โดยคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ จำนวน 1 ครั้ง พบว่า ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่ภาวะพึ่งพิงได้ปฏิบัติงานตามแผนการดำเนินงานและได้มีการประเมินการเกิดแผลกดทับพบว่า ร้อยละ 100 สามารถป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับได้และร้อยละ 100 ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดแผลกดทับ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงมีจำนวนที่ไม่แน่นอน
  2. ญาติ ผู้ดูแลให้ความสำคัญกับการใช้ที่นอนลมน้อย เนื่องจากลำบากมากกว่าการนอนบนที่นอนธรรมดา
  3. ไม่สามารถจัดประชุมได้ตามกำหนด
  4. กรณีลงเยี่ยมตรวจคัดกรองและสังเกตอาการผู้ถูกกักตัว ที่เดินทางมาจากต่างจังหวัดหรือพื้นที่เสี่ยง จำนวน 14 วัน ประชาชนบางคนไม่ให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่

 

  1. ควรวางแผนทำกิจกรรมตั้งแต่ได้รับงบประมาณเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงอย่างถูกต้องและรวดเร็ว
  2. แนะนำให้เห็นความสำคัญของการใช้ที่นอนลมเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ
  3. ควรวางแผนและปฏิบัติงานตามแผนอย่างเคร่งครัด

ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียง

รหัสโครงการ 2562 – L8010 – 3 - 2 ระยะเวลาโครงการ 20 มิถุนายน 2562 - 30 มิถุนายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการป้องกันและแก้ไขการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2562 – L8010 – 3 - 2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด