กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน


“ โครงการฟันสวย หัวใจเบิกบาน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ปี 2563 ”

อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอโนชา เหละดุหวี

ชื่อโครงการ โครงการฟันสวย หัวใจเบิกบาน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ปี 2563

ที่อยู่ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4147-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟันสวย หัวใจเบิกบาน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ปี 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวย หัวใจเบิกบาน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟันสวย หัวใจเบิกบาน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4147-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคในช่องปากเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะในพื้นที่ 3 จังหวัด แม้โรคในช่องปากจะเป็นโรคซึ่งไม่ได้ติดต่อร้ายแรงหรือเป็นอันตรายถึงชีวิตแต่ได้ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานอันเนื่องมาจากความเจ็บปวดซ้ำซาก ซึ่งเป้าหมายทันตสุขภาพระยะยาวของประเทศไทยปี 2563 ระบุว่า “คนไทยมีสุขภาพช่องปากดี บดเคี้ยวได้ อยู่ในสังคมอย่างปกติสุข ทุกช่วงวัยของชีวิต” การที่จะบรรลุเป้าหมายระยะยาวได้นั้นจะต้องเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก หรือเริ่มตั้งแต่ระยะฟันน้ำนมเริ่มขึ้น หากฟันได้รับการดูแลอย่างดี เมื่อถึงวัยผู้ใหญ่จะมีฟันใช้งานได้ครบทั้งปากไม่มีโรคในช่องปากไม่มีความเจ็บปวดในช่องปาก คงสภาวะเช่นนี้ได้ตลอดชีวิต

โรคฟันผุยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่พบมากที่สุด โดยลักษณะธรรมชาติของโรคฟันผุ มักผุที่ฟันกรามด้านบดเคี้ยวเป็นส่วนใหญ่ซึ่งฟันกรามซี่แรกจะขึ้นมาในช่องปากช่วงอายุ 6 ปี ในช่วงนี้พ่อแม่ผู้ปกครองของเด็กยังเข้าใจว่าฟันแท้ที่ขึ้นมาในช่องปากเป็นฟันน้ำนม ทำให้ละเลยการดูแลฟันกรามนี้เป็นพิเศษ ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรคฟันผุในฟันกรามซี่แรก โดยเฉพาะการเคลือบหลุมร่องฟัน (Sealant) เคลือบหลุมร่องฟันที่ลึก ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยง ต่อการเกิดโรคฟันผุในเด็กได้ นอกจากนี้ประชาชนควรได้รับการดูแลส่งเสริมการให้ความรู้ และคำแนะนำทันตสุขภาพอย่างจริงจัง เพื่อให้เกิดการสร้างกระแสเพื่อกระตุ้นให้เกิดการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกต้อง และนอกจากนี้ การส่งเสริมการให้ความรู้ด้านการแปรงฟันโดยเน้นการลงมือฝึกปฏิบัติจริงในช่องปาก จะส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการส่งเสริมป้องกันโรคฟันผุได้ดี โดยเฉพาะเด็กอายุต่ำกว่า 0-5 ปี ซึ่งไม่มีความสามารถดูแลสุขภาพช่องปากได้เอง การค้นหาปัญหาโรคฟันผุในเด็ก 0-5 ปีในพื้นที่ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา พบว่า พฤติกรรมการแปรงฟันและการบริโภคของกรุบกรอบในเด็ก 0-5 ปี ยังเป็นปัญหาที่สำคัญที่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ดีเท่าที่ควร จึงจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแล หญิงตั้งครรภ์ ผู้นำศาสนา และผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตสุขภาพมีความจำเป็นยิ่งในการดูแลช่องปาก ไม่วาจะเป็นการจัดกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน การเฝ้าระวังทันตสุขภาพโดยการตรวจฟันปีละ 2 ครั้ง

การเฝ้าระวังทันตสุขภาพ โดยเฉพาะการเพิ่มพูน ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่ดีมีความจำเป็นที่ต้องส่งเสริมสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เช่น หญิงตั้งครรภ์ เด็กแรกเกิด-2 ปี เด็กวัยเรียน (6-12 ปี) และ ผู้สูงอายุ เพื่อที่จะนำความรู้ไปปฏิบัติ และถ่ายทอดไปยังผู้อื่นได้โดยเน้นการส่งเสริม ป้องกันโรคช่องปาก ควบคู่กับการรักษา และให้ทันตสุขศึกษาเกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากเพื่อป้องกันโรคในช่องปาก สามารถคงสภาพฟันที่ดีใช้งานได้ตลอดไป

ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาโงยซิแน ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการฟันสวย หัวใจเบิกบาน ปี 2563 เพื่อการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็ก ทำให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี และผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้อง เพื่อให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่ดีแก่เด็กนักเรียน และประชาชนทั่วไป เพื่อที่จะนำความรู้ไปปฏิบัติ และถ่ายทอดไปยังผู้อื่นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 1. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ได้แก่ ฝึกทักษะการแปรงฟันหญิง ช่วงฝากครรภ์, เยี่ยมหญิงหลังคลอด และตรวจสุขภาพฟัน และ OHI ช่วงฝากครรภ์ และรักษาทางทันตกรรมตามชุดสิทธิประโยชน์ที่ระบุ
  2. กลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5ปี) 1. เพื่อตรวจช่องปากเด็ก และให้ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับสุขภาพช่อง ปากตามระบบใน WBC 2. เพื่อฝึกทักษะการแปรงฟันให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี 3. เพื่อตรวจช่องปากปีละ 2 ครั้ง และให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากกับผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง 4.เพื่อจัดให้มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน 5.เพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กให้เอื้อต่อสุขภาพฟันเช่น การควบคุมอาหารหวานและอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพในศูนย์และโรงเรียนอนุบาล
  3. กลุ่มเด็กนักเรียน(6-12 ปี) 1. เพื่อส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพในช่องปากกลุ่มเด็กวัยเรียน 2. เด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และฝึกทักษะการแปรงฟันเป็นรายบุคคล 3. รับบริการทางทันตกรรมตามความเหมาะสม 4.มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
  4. กลุ่มผู้สูงอายุและผู้ป่วยเบาหวาน 1.เพื่อส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพในช่องปาก 2.เพื่อส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 3.จัดบริการทันตกรรมป้องกันแก่ผู้ป่วยเบาหวานในรายที่มีปัญหาช่องปาก
  5. เพื่อให้แกนนำสาธารณสุข อสม. และประชาชนที่สนใจได้รับความรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้อื่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เสริมสร้างและฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี
  2. การส่งเสริม ป้องกันโรคในช่องปาก เชิงรุกในและนอกสถานบริการ
  3. การควบคุมกำกับ และการประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 666
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. โรงเรียนประถมศึกษามีกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันโดยมีการควบคุมกำกับ ดูแล โดยแกนนำนักเรียน หรือครูประจำชั้น
  2. โรงเรียนมีกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ชัดเจน เป็นรูปแบบและสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง มีระบบการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติตัวเพื่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี
  3. ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็กก่อนวัยเรียน
  4. ชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
  5. หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการตรวจสุขภาพฟัน OHI และรักษาทางทันตกรรมตามชุดสิทธิประโยชน์
  6. ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยเบาหวาน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกวิธี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 1. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ได้แก่ ฝึกทักษะการแปรงฟันหญิง ช่วงฝากครรภ์, เยี่ยมหญิงหลังคลอด และตรวจสุขภาพฟัน และ OHI ช่วงฝากครรภ์ และรักษาทางทันตกรรมตามชุดสิทธิประโยชน์ที่ระบุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจฟันและรักษาทันตกรรม
20.00 30.00

 

2 กลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5ปี) 1. เพื่อตรวจช่องปากเด็ก และให้ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับสุขภาพช่อง ปากตามระบบใน WBC 2. เพื่อฝึกทักษะการแปรงฟันให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี 3. เพื่อตรวจช่องปากปีละ 2 ครั้ง และให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากกับผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง 4.เพื่อจัดให้มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน 5.เพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กให้เอื้อต่อสุขภาพฟันเช่น การควบคุมอาหารหวานและอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพในศูนย์และโรงเรียนอนุบาล
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ80 ของเด็กอายุ 0-2 ปีได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิช 2. ร้อยละ80 ของเด็กอายุ3-5ปีได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช 3. ในศูนย์เด็กเล็กมีกิจกรรมการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพฟันเช่น การควบคุมอาหารหวานและอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ
80.00 90.00

 

3 กลุ่มเด็กนักเรียน(6-12 ปี) 1. เพื่อส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพในช่องปากกลุ่มเด็กวัยเรียน 2. เด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และฝึกทักษะการแปรงฟันเป็นรายบุคคล 3. รับบริการทางทันตกรรมตามความเหมาะสม 4.มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 20 ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่1-6 ที่มีปัญหาโรคฟันผุ ได้รับการอุดฟัน 2. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนระดับประถมศึกษา มีการจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
20.00 30.00

 

4 กลุ่มผู้สูงอายุและผู้ป่วยเบาหวาน 1.เพื่อส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพในช่องปาก 2.เพื่อส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 3.จัดบริการทันตกรรมป้องกันแก่ผู้ป่วยเบาหวานในรายที่มีปัญหาช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจฟัน
81.54 85.00

 

5 เพื่อให้แกนนำสาธารณสุข อสม. และประชาชนที่สนใจได้รับความรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของแกนนำสาธารณสุข อสม. และประชาชนที่สนใจได้รับความรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้อื่นได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1106
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 666
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 1. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ได้แก่ ฝึกทักษะการแปรงฟันหญิง ช่วงฝากครรภ์, เยี่ยมหญิงหลังคลอด และตรวจสุขภาพฟัน และ OHI ช่วงฝากครรภ์ และรักษาทางทันตกรรมตามชุดสิทธิประโยชน์ที่ระบุ (2) กลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5ปี) 1. เพื่อตรวจช่องปากเด็ก และให้ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับสุขภาพช่อง ปากตามระบบใน WBC
2. เพื่อฝึกทักษะการแปรงฟันให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี
3. เพื่อตรวจช่องปากปีละ 2 ครั้ง และให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากกับผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง
4.เพื่อจัดให้มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
5.เพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กให้เอื้อต่อสุขภาพฟันเช่น การควบคุมอาหารหวานและอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพในศูนย์และโรงเรียนอนุบาล (3) กลุ่มเด็กนักเรียน(6-12 ปี)
1. เพื่อส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพในช่องปากกลุ่มเด็กวัยเรียน
2. เด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และฝึกทักษะการแปรงฟันเป็นรายบุคคล 3. รับบริการทางทันตกรรมตามความเหมาะสม 4.มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน (4) กลุ่มผู้สูงอายุและผู้ป่วยเบาหวาน
1.เพื่อส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพในช่องปาก
2.เพื่อส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
3.จัดบริการทันตกรรมป้องกันแก่ผู้ป่วยเบาหวานในรายที่มีปัญหาช่องปาก (5) เพื่อให้แกนนำสาธารณสุข อสม. และประชาชนที่สนใจได้รับความรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้อื่นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เสริมสร้างและฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี (2) การส่งเสริม ป้องกันโรคในช่องปาก เชิงรุกในและนอกสถานบริการ (3) การควบคุมกำกับ และการประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฟันสวย หัวใจเบิกบาน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ปี 2563 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4147-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอโนชา เหละดุหวี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด