กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านไสใหญ่

ชื่อโครงการ โครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 2 - 04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 25 กุมภาพันธ์ 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โรงเรียนบ้านไสใหญ่ ได้ให้ความตระหนักและใส่ใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและบริเวณชุมชนรอบข้าง ทั้งในเรื่องของการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและบริเวณโรงเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ซึ่งการมีสภาพแวดล้อมที่ดีจะส่งผลที่ดีกับนักเรียน และโรงเรียนได้เฝ้าระวังเกี่ยวกับสุขภาพของนักเรียนมาตลอด ส่งเสริมการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ไข ป้องกัน ให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย แม้ว่าที่ผ่านมาโรงเรียนได้จัดกิจกรรมที่แก้ไขเกี่ยวกับภาวะโภชนาการนักเรียนมาแล้ว แต่ปัญหาเหล่านี้ก็ยังไม่หมดไป ในปี 2563 คิดเป็นร้อยละ 34 ยังจำเป็นที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ยังมีนักเรียนที่อ้วนและผอมอยู่ เด็กกลุ่มนี้ยังขาดวินัยในการบริโภคอาหาร และเลือกกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์และขาดการออกกำลังกายเช่นเดียวกับปัญหาสุขภาพช่องปาก และปัญหาสุขภาพช่องปากแม้ว่าทางโรงเรียนได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง แต่ยังพบนักเรียนกลุ่มนี้ ร้อยละ 43 สาเหตุมาจากพฤติกรรมชองนักเรียน ที่ไม่ใส่ใจเรื่องฟันของตนเองและไม่แปรงฟันหลังรับประทานอาหารหรือก่อนนอน จำเป็นอย่างยิ่งที่ทางโรงเรียนจะต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน และที่ผ่านมาครูได้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ใส่ใจเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของตนเอง เช่น บางคนเล็บยาว เป็นเหา แต่งกายมาโรงเรียนไม่ค่อยเรียบร้อย เป็นต้น ซึ่งการปลูกฝังนิสัย ระเบียบที่ดีให้กับเด็กถือว่าเป็นเรื่องสำคัญ และการส่งเสริมให้เด็กได้ดูแลสุขภาพของตนเองถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ ที่สามารถช่วยลดการเกิดโรคต่างๆ ได้ เช่น การฝึกให้เด็กล้างมือทุกครั้งก่อนรับระทานอาหารหรือหลังจากเข้าห้องน้ำ เป็นต้น ปัญหาเหล่านี้นับว่าเป็นเรื่องที่จำเป็นที่ทางโรงเรียนต้องดำเนินการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง เพื่อสุขภาพที่ดีของนักเรียน

    จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านไสใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียน เกี่ยวกับภาวะโภชนาการ สุขภาพช่องปาก และการส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยของนักเรียน และการดำเนินการแก้ไขจำเป็นจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนลดลง

ผลการดำเนินการโครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ จากการประเมินกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน

  • จากการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไสใหญ่ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2563 และวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 2 ครั้ง ประชุมเรื่องการจัดโครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 10 คน ผลการประชุม คณะกรรมการมีมติให้ความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ ร้อยละ 100 ให้สามารถจัดกิจกรรมดังกล่าวได้ ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในโครงการ ภายใต้มาตรการป้องกันการระบาดของโรคโควิด 19

กิจกรรมที่ 2 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์

  • เด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หลังการดำเนินโครงการ พบว่า มีเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 40

  • เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีน้ำหนักลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 45

  • นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก

  • นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไข โดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข ร้อยละ 100 โดยการใช้แบบสำรวจภาวะฟันผุและเหงือกอักเสบของนักเรียน

  • นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงฟันและโรคฟันผุลดลง

กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน

  • นักเรียนและผู้ปกครอง ร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองตามหลักสุขอนามัย

  • นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้นร้อยละ 90

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนบ้านไสใหญ่ ได้ให้ความตระหนักและใส่ใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและบริเวณชุมชนรอบข้าง ทั้งในเรื่องของการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและบริเวณโรงเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ซึ่งการมีสภาพแวดล้อมที่ดีจะส่งผลที่ดีกับนักเรียน และโรงเรียนได้เฝ้าระวังเกี่ยวกับสุขภาพของนักเรียนมาตลอด ส่งเสริมการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ไข ป้องกัน ให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย แม้ว่าที่ผ่านมาโรงเรียนได้จัดกิจกรรมที่แก้ไขเกี่ยวกับภาวะโภชนาการนักเรียนมาแล้ว แต่ปัญหาเหล่านี้ก็ยังไม่หมดไป ในปี 2563 คิดเป็นร้อยละ 34 ยังจำเป็นที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ยังมีนักเรียนที่อ้วนและผอมอยู่ เด็กกลุ่มนี้ยังขาดวินัยในการบริโภคอาหาร และเลือกกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์และขาดการออกกำลังกายเช่นเดียวกับปัญหาสุขภาพช่องปาก และปัญหาสุขภาพช่องปากแม้ว่าทางโรงเรียนได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง แต่ยังพบนักเรียนกลุ่มนี้ ร้อยละ 43 สาเหตุมาจากพฤติกรรมชองนักเรียน ที่ไม่ใส่ใจเรื่องฟันของตนเองและไม่แปรงฟันหลังรับประทานอาหารหรือก่อนนอน จำเป็นอย่างยิ่งที่ทางโรงเรียนจะต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน และที่ผ่านมาครูได้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ใส่ใจเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของตนเอง เช่น บางคนเล็บยาว เป็นเหา แต่งกายมาโรงเรียนไม่ค่อยเรียบร้อย เป็นต้น ซึ่งการปลูกฝังนิสัย ระเบียบที่ดีให้กับเด็กถือว่าเป็นเรื่องสำคัญ และการส่งเสริมให้เด็กได้ดูแลสุขภาพของตนเองถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ ที่สามารถช่วยลดการเกิดโรคต่างๆ ได้ เช่น การฝึกให้เด็กล้างมือทุกครั้งก่อนรับระทานอาหารหรือหลังจากเข้าห้องน้ำ เป็นต้น ปัญหาเหล่านี้นับว่าเป็นเรื่องที่จำเป็นที่ทางโรงเรียนต้องดำเนินการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง เพื่อสุขภาพที่ดีของนักเรียน

จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านไสใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียน เกี่ยวกับภาวะโภชนาการ สุขภาพช่องปาก และการส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยของนักเรียน และการดำเนินการแก้ไขจำเป็นจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนลดลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  2. เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการส่งเสริม แก้ไขและรักษาที่ถูกวิธี และมีจำนวนลดลง
  3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน
  2. ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
  3. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์
  4. สอน/สาธิตการทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ
  5. ส่งเสริมการดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน
  6. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 116
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครู 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการแก้ไขอย่างถูกวิธี และอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  2. นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากมีจำนวนลดลงและได้รับการรักษาที่ถูกวิธี
  3. นักเรียน ผู้ปกครองและครู มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขอนามัยของนักเรียน และนักเรียนสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน

วันที่ 26 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมครั้งที่ 1 ชี้แจงรายละเอียดโครงการ งบประมาณและกิจกรรม ปรึกษาหารือวางแผนการดำเนินงานโครงการ
  2. ประชุมครั้งที่ 2 รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม ปัญหาสุขภาพของนักเรียน เพื่อหาแนวทางแก้ไข และสรุปผลการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไสใหญ่ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2563 และวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 2 ครั้ง ประชุมเรื่องการจัดโครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 10 คน ผลการประชุม คณะกรรมการมีมติให้ความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ ร้อยละ 100 ให้สามารถจัดกิจกรรมดังกล่าวได้ ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในโครงการ ภายใต้มาตรการป้องกันการระบาดของโรคโควิด 19

 

0 0

2. ส่งเสริมการดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดหลักสูตรอบรมนักเรียนที่เข้าใหม่ ชั้น ป.1 และหลักสูตรอบรมฟื้นฟูสำหรับนักเรียนเก่า ชั้น ป.2 – 6 ร่วมกับผู้ปกครองนักเรียนชั้น ป.1 เกี่ยวกับหลักสุขบัญญัติ 10 ประการ และฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพของตัวเอง

  2. จัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล จัดอาคาร สถานที่ ให้ร่มรื่น สะอาดเป็นระเบียบ น่าอยู่ ปลอดภัย ใช้หลัก Green /Clean/Safety จัดห้องน้ำ ห้องส้วมให้สะอาด ถูกสุขลักษณะตามแนวดำเนินงานส้วมสุขสันต์ และการรักษาความสะอาด การกำจัดขยะที่ถูกวิธี

  3. ตรวจสุขภาพนักเรียนก่อน – หลังดำเนินโครงการ

  4. จัดทำป้ายขั้นตอนการล้างมือที่ถูกต้อง

  5. จัดตั้งชมรมออกกำลังกายประจำโรงเรียนเพื่อเป็นแกนนำในการดูแลสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนและผู้ปกครอง ร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองตามหลักสุขอนามัย

  2. นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้นร้อยละ 90

 

0 0

3. ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก

วันที่ 21 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ตรวจสุขภาพช่องปากโดยบุคลากรสาธารณสุขหรือครู อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ส่งต่อนักเรียนเพื่อรับบริการทันต กรรม โดยคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาโรคในช่องปาก และประสานกับเจ้าหน้าที่และผู้ปกครองในการพาเด็กไปรับบริการหรือเชิญเจ้าหน้าที่มาให้บริการเพื่อส่งต่อ

  2. ควบคุมอาหารหรือขนมที่เป็นอันตรายต่อฟัน โดยการลดหรืองดการขายขนม/เครื่องดื่มที่เป็นอันตรายต่อฟันในโรงเรียน และร้านค้าบริเวณโรงเรียน

  3. แปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์

  4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน สร้างความตระหนักให้แก่ผู้ปกครอง ครอบครัว และชุมชน ถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กโดยเฉพาะการแปรงฟันก่อนนอน ควบคุมหรือลดปริมาณการกินขนม/เครื่องดื่มของเด็ก

  5. ประกวด นักเรียนฟันดี เพื่อยกย่องเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียนคนอื่นๆ

  6. จัดทำป้ายทันตสุขศึกษา ขั้นตอนการแปรงฟันที่ถูกวิธีติดบริเวณจุดที่แปรงฟัน และจัดทำป้ายกติกาของโรงเรียนเกี่ยวกับการจำหน่ายอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะหรือเป็นอันตรายต่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไข โดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข ร้อยละ 100 โดยการใช้แบบสำรวจภาวะฟันผุและเหงือกอักเสบของนักเรียน

  • นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงฟันและโรคฟันผุลดลง

 

0 0

4. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์

วันที่ 22 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

  1. แจ้งให้ผู้บริหารโรงเรียนทราบถึงข้อมูลและปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ( ผอม เตี้ย ) และเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ (ท้วม เริ่มอ้วน และอ้วน)

  2. แจ้งให้ผู้ปกครองทราบถึงภาวะทุพโภชนาการ (ผอม เตี้ย) ในเด็กนักเรียน แนะนำในเรื่องการเพิ่มปริมาณอาหารที่จำเป็นและมีประโยชน์ในแต่ละวันให้เด็กทาน ส่งเสริมให้เด็กทานสารอาหารจำพวกแป้ง น้ำตาล โปรตีน เพิ่ม รวมทั้งผัก/ผลไม้ ส่งเสริมให้เด็กออกกำลังกายทุกวัน และผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ (ท้วม เริ่มอ้วน และอ้วน) การควบคุมปริมาณอาหารในแต่ละวันให้เด็กทาน ส่งเสริมให้เด็กทานผัก/ผลไม้ และส่งเสริมให้เด็กออกกำลังกายทุกวัน

  3. โรงเรียนสนับสนุนและส่งเสริม เพื่อแก้ไขเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ ดังนี้

    3.1 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

  • ประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็ก พร้อมทั้งจัดทำปฏิทินอาหาร และสอน/สาธิตการทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ แก่ผู้ปกครองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์

  • สร้างแกนนำ อสม.น้อย ในโรงเรียน เพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังด้านสุขภาพ และอบรมให้ความรู้กับ อสม.น้อย

  • แกนนำ อสม.น้อยร่วมกับคณะครู ติดตามพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและบันทึกผล เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 5 ครั้ง

  • แกนนำ อสม.น้อย รายงานผลการติดตามและแจ้งให้คณะครูทราบ พร้อมทั้งลงเยี่ยมบ้านนักเรียนและแจ้งผลให้ผู้ปกครองทราบ

  • นักเรียนจัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารทุกชั้นเรียน

  • โรงเรียนขอความร่วมมือจากร้านค้า สหกรณ์ จำหน่ายอาหารคุณภาพให้กับนักเรียน

    3.2 ส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้กับนักเรียน

  • สร้างแกนนำนักเรียน เพื่อเป็นแกนนำในการออกกำลังกายให้กับนักเรียนคนอื่นๆ

  • โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กปลูกผักปลอดสารพิษ

  • ปรับสภาพแวดล้อมในโรงเรียน เช่น เก็บขยะ รดน้ำต้นไม้ ทำความสะอาดห้องน้ำ อาคารเรียน เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

1.1อบรมให้ความรู้แก่ผ็ปกครองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ จำนวน 12 คน นักเรียนเกินเกณฑ์ 28 คน และผู้ปกครอง จำนวน 40 คน ประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม ผลการดำเนินการพบว่า

  • เด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หลังการดำเนินโครงการ พบว่า มีเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 40

  • เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีน้ำหนักลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 45

  • นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

1.2สร้างแกนนำ อสม.น้อย ในโรงเรียน เพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังด้านสุขภาพ และอบรมให้ความรู้กับ อสม.น้อย จำนวน 20 คน ร่วมกับคณะครู ติดตามพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและบันทึกผล รายงานผลการติดตามและแจ้งให้คณะครูทราบ

2.การส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้กับนักเรียน

  • มีการแต่งตั้งแกนนำนักเรียนในการออกกำลังกายตอนเช้าให้กับนักเรียนคนอื่นๆ

  • โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กปลูกผักปลอดสารพิษ

  • ปรับสภาพแวดล้อมในโรงเรียน ได้แก่ เก็๋บขยะ รดน้ำต้นไม้ ทำความสะอาดห้องน้ำ อาคารเรียน

 

0 0

5. สอน/สาธิตการทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ

วันที่ 23 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสริมการประกอบอาหารให้กับผู้ปกครองและนักเรียนโดยการทำกิจกรรมร่วมกัน

  2. สอน/สาธิตการทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ

ครั้งที่ 1

  • เมนูโจ๊กไข่ดาว

  • เมนูสลัดผัก ผลไม้

ครั้งที่ 2

  • ไอศกรีมกล้วยหอม
  • เกี๊ยวน้ำลอยทะเล
  • ลูกชิ้นสายรุ้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพให้กับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ จำนวน 12 คน นักเรียนเกินเกณฑ์ 28 คน และผู้ปกครอง จำนวน 40 คน ผลการดำเนินการพบว่า นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

 

0 0

6. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 27 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

  2. จัดทำรายงานผลโครงการเสนอกองทุนตำบลอย่างน้อย 2 เล่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 270 คน ผลการดำเนินโครงการไสใหญ่วัยใสใส่ใจสุขภาพ จากการประเมินกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน

  • จากการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไสใหญ่ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2563 และวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 2 ครั้ง ประชุมเรื่องการจัดโครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 10 คน ผลการประชุม คณะกรรมการมีมติให้ความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ ร้อยละ 100 ให้สามารถจัดกิจกรรมดังกล่าวได้ ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในโครงการ ภายใต้มาตรการป้องกันการระบาดของโรคโควิด 19

กิจกรรมที่ 2 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์

  • เด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หลังการดำเนินโครงการ พบว่า มีเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 40

  • เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีน้ำหนักลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 45

  • นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก

  • นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไข โดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข ร้อยละ 100 โดยการใช้แบบสำรวจภาวะฟันผุและเหงือกอักเสบของนักเรียน

  • นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงฟันและโรคฟันผุลดลง

กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน

  • นักเรียนและผู้ปกครอง ร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองตามหลักสุขอนามัย

  • นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้นร้อยละ 90

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : 1. เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ 2. เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ 3. นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00 40.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการส่งเสริม แก้ไขและรักษาที่ถูกวิธี และมีจำนวนลดลง
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไข โดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข ร้อยละ 100 2. นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปาก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงฟันและโรคฟันผุลดลง
0.00 100.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนและผู้ปกครอง ร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองตามหลักสุขอนามัย 2. นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้น
0.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 126 126
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 116 116
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครู 10 10

บทคัดย่อ*

โรงเรียนบ้านไสใหญ่ ได้ให้ความตระหนักและใส่ใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและบริเวณชุมชนรอบข้าง ทั้งในเรื่องของการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและบริเวณโรงเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ซึ่งการมีสภาพแวดล้อมที่ดีจะส่งผลที่ดีกับนักเรียน และโรงเรียนได้เฝ้าระวังเกี่ยวกับสุขภาพของนักเรียนมาตลอด ส่งเสริมการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ไข ป้องกัน ให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย แม้ว่าที่ผ่านมาโรงเรียนได้จัดกิจกรรมที่แก้ไขเกี่ยวกับภาวะโภชนาการนักเรียนมาแล้ว แต่ปัญหาเหล่านี้ก็ยังไม่หมดไป ในปี 2563 คิดเป็นร้อยละ 34 ยังจำเป็นที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ยังมีนักเรียนที่อ้วนและผอมอยู่ เด็กกลุ่มนี้ยังขาดวินัยในการบริโภคอาหาร และเลือกกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์และขาดการออกกำลังกายเช่นเดียวกับปัญหาสุขภาพช่องปาก และปัญหาสุขภาพช่องปากแม้ว่าทางโรงเรียนได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง แต่ยังพบนักเรียนกลุ่มนี้ ร้อยละ 43 สาเหตุมาจากพฤติกรรมชองนักเรียน ที่ไม่ใส่ใจเรื่องฟันของตนเองและไม่แปรงฟันหลังรับประทานอาหารหรือก่อนนอน จำเป็นอย่างยิ่งที่ทางโรงเรียนจะต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน และที่ผ่านมาครูได้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ใส่ใจเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของตนเอง เช่น บางคนเล็บยาว เป็นเหา แต่งกายมาโรงเรียนไม่ค่อยเรียบร้อย เป็นต้น ซึ่งการปลูกฝังนิสัย ระเบียบที่ดีให้กับเด็กถือว่าเป็นเรื่องสำคัญ และการส่งเสริมให้เด็กได้ดูแลสุขภาพของตนเองถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ ที่สามารถช่วยลดการเกิดโรคต่างๆ ได้ เช่น การฝึกให้เด็กล้างมือทุกครั้งก่อนรับระทานอาหารหรือหลังจากเข้าห้องน้ำ เป็นต้น ปัญหาเหล่านี้นับว่าเป็นเรื่องที่จำเป็นที่ทางโรงเรียนต้องดำเนินการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง เพื่อสุขภาพที่ดีของนักเรียน

    จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านไสใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียน เกี่ยวกับภาวะโภชนาการ สุขภาพช่องปาก และการส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยของนักเรียน และการดำเนินการแก้ไขจำเป็นจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนลดลง

ผลการดำเนินการโครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ จากการประเมินกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน

  • จากการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไสใหญ่ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2563 และวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 2 ครั้ง ประชุมเรื่องการจัดโครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 10 คน ผลการประชุม คณะกรรมการมีมติให้ความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ ร้อยละ 100 ให้สามารถจัดกิจกรรมดังกล่าวได้ ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในโครงการ ภายใต้มาตรการป้องกันการระบาดของโรคโควิด 19

กิจกรรมที่ 2 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์

  • เด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หลังการดำเนินโครงการ พบว่า มีเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 40

  • เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีน้ำหนักลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 45

  • นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก

  • นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไข โดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข ร้อยละ 100 โดยการใช้แบบสำรวจภาวะฟันผุและเหงือกอักเสบของนักเรียน

  • นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงฟันและโรคฟันผุลดลง

กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน

  • นักเรียนและผู้ปกครอง ร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองตามหลักสุขอนามัย

  • นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้นร้อยละ 90

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

1.ควรจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการปฏิบัติที่ต่อเนื่องและได้ผลชัดเจน

2.ควรสร้างความตระหนักให้เห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการด้านต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 2 - 04 ระยะเวลาโครงการ 25 กุมภาพันธ์ 2563 - 25 กุมภาพันธ์ 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 2 - 04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนบ้านไสใหญ่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด