กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุ ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านปากปิง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุ

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 2 - 05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 25 กุมภาพันธ์ 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุ



บทคัดย่อ

โรงเรียนบ้านปากปิง ได้ความตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญในการดูแลสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุของนักเรียน ในปีงบประมาณ 2563 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี และมีอัตราโรคฟันผุลดลง รู้จักการดูแลและการแปรงฟันอย่างถูกวิธีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากปละได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาอย่างถูกวิธี พร้อมทั้งสร้างเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี และมีความรู้เกี่ยวกับโรคฟันผุ รู้จักการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุ ซึ่งนักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านปากปิง เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ เกิดผลดีแก่นักเรียน ดังนี้

  1. นักเรียนและผู้ปกครอง มีความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพช่องปาก โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย เห็นความสำคัญในการดูแลปากและฟันของตนเองมากขึ้น

  2. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการส่งต่อรักษาอย่างถูกวิธี

  3. อัตราการเกิดฟันผุของนักเรียนลดลง

  4. มีสื่อและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี

จากการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุ ได้รับผลการพัฒนาที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ส่งผลให้นักเรียนมีพัฒนาการในการเรียนดียิ่งขึ้น

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การศึกษากับสุขภาพอนามัยของผู้เรียนเป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป ซึ่งโรงเรียนก็เป็นสถาบันหนึ่งของสังคมมีหน้าที่ให้ความรู้และพัฒนาคนให้มีสุขภาพและศักยภาพที่ดีสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นอกจากการให้การศึกษาแล้ว การส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียนก็เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี การให้บริการด้านสุขภาพอนามัย การให้ความรู้ด้านสุขภาพของเด็กสามารถทำให้เด็กดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัย

ปัญหาสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านปากปิง เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก จากการตรวจฟันของนักเรียนที่ผ่านมา จำนวน 82 คน พบว่าฟันผุ จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 70.73ซึ่งโรคฟันผุนี้เกิดจากหลายปัจจัยที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของเด็ก และส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของเด็ก เป็นสาเหตุให้เด็กหลายคนทนทุกข์ทรมานจากการปวดฟัน มีปัญหาในการเคี้ยวอาหาร การเจริญเติบโตช้าทั้งด้านร่างกายและสติปัญญา นอกจากนั้นทำให้เด็กต้องขาดเรียนบ่อย ซึ่งสาเหตุที่ทำให้เด็กในโรงเรียนฟันผุ พบว่าเกิดจากพฤติกรรมของเด็ก เช่น ชอบรับประทานอาหารที่มีรสหวาน ไม่สนใจเรื่องการแปรงฟัน แปรงฟันไม่ถูกวิธี และผู้ปกครองไม่ได้กำชับให้เด็กแปรงฟันอย่างสม่ำเสมอ การแก้ไขโรคฟันผุต้องอาศัยการทำงานแบบบูรณาการกับหลายภาคส่วนทั้งโรงเรียน ครอบครัว และเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข เพื่อให้เกิดการทำงานในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างคลอบคลุม

โรงเรียนบ้านปากปิง มีความตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียน โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุ เพื่อให้นักเรียนมีอัตราโรคฟันผุลดลง โดยการส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพช่องปากและการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์กับนักเรียน ผู้ปกครอง ส่งเสริมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร และตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียน กรณีที่พบนักเรียนฟันผุก็ส่งต่อเข้ารับการรักษาอย่างถูกวิธี พร้อมทั้งติดตามพฤติกรรมของนักเรียนขณะอยู่ที่บ้าน พร้อมทั้งสร้างเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี ในการส่งเสริมให้เด็กมีสภาวะสุขภาพช่องปากที่ดี ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดีและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี และมีอัตราฟันผุลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สร้างสุขนิสัยการแปรงฟันให้กับนักเรียน
  2. เฝ้าระวังและตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก
  3. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพช่องปาก โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัยแก่เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง
  4. ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี
  5. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 82
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครู 10
ผู้ปกครอง 82

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนและผู้ปกครอง มีความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพช่องปาก โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย
  2. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับส่งต่อรักษาอย่างถูกวิธี
  3. อัตราการเกิดฟันผุของนักเรียนลดลง
  4. มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เฝ้าระวังและตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก

วันที่ 14 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม

  1. ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กตั้งแต่ระดับอนุบาล – ป.6 นักเรียน จำนวน 82 คน

  2. ดำเนินการตรวจโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข และบันทึกข้อมูลสุขภาพฟันเด็ก

  3. กรณีตรวจพบนักเรียนที่ฟันผุ แจ้งให้ผู้ปกครองทราบ และส่งต่อเข้ารับการรักษา

  4. โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันที่โรงเรียนทุกวัน

  5. ครูผู้รับผิดชอบแต่ละชั้นเรียนลงเยี่ยมและติดตามพฤติกรรมการแปรงฟันของนักเรียนไปยังผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจากเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข

  2. นักเรียนร้อยละ 100 ได้แปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน

  3. นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับการติดตามเยี่ยมพฤติกรรมการแปรงฟันไปยังผู้ปกครองพร้อมทั้งจัดทำแบบบันทึกการแปรงฟันของนักเรียนขณะอยู่ที่บ้าน

 

0 0

2. ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี

วันที่ 22 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม

1.นโยบายการจัดการเรื่องอาหาร/ขนม/ เครื่องดื่ม

  • การดูแลเรื่องอาหารกลางวันและอาหารว่าง

  • นํ้าดื่มสะอาด

  • การจัดระเบียบการจำหน่ายอาหาร หรือเครื่องดื่มที่เสี่ยงต่อฟันผุ ได้แก่ ท็อฟฟี่ น้ำอัดลม นมเปรี้ยว นมปรุงรส เป็นต้น

2.การจัดกระบวนการเรียนรู้

  • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เด็กมีส่วนร่วม มีสื่อการเรียนการสอน

  • แต่ละชั้นเรียนมีมุมส่งเสริมทันตสุขภาพภายในห้องเรียน พร้อมจัดเก็บอุปกรณ์การแปรงฟันที่ถูกสุขลักษณะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับการดูแลเกี่ยวกับเรื่องอาหาร ขนม น้ำดื่มภายในโรงเรียนให้ปลอดภัยจากโรคฟันผุ

  • นักเรียนร้อยละ 90 มีส่วนร่วมในการผลิตสื่อการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับโรคฟันผุ

  • ร้อยละ 100 ห้องเรียนมีมุมส่งเสริมทันตสุขภาพที่เื้อต่อการเรียนรู้

  • ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีอุปกรณ์การแปรงฟันและมีที่จัดเก็บที่ถูกสุขลักษณะ

  • นักเรียนร้อยละ 90 มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

0 0

3. สร้างสุขนิสัยการแปรงฟันให้กับนักเรียน

วันที่ 30 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน

  • เด็กมีแปรงที่อยู่ในสภาพดี ใช้ยาสีฟันฟลูออไรด์

  • การจัดเก็บอุปกรณ์การแปรงฟันให้ถูกสุขลักษณะ

  • สถานที่แปรงฟัน มีอ่าง เหมาะสม

  • ครูประจำชั้นและนักเรียนควบคุมดูแล “แปรงฟัน 2-2-2”

2.ตรวจประสิทธิภาพการแปรงฟัน

  • ใช้ยาเม็ดย้อมสีฟันหรือสีผสมอาหาร (สีแดง) ทำอย่างสม่ำเสมอ เป็นการฝึกทักษะนักเรียน

  • ขั้นตอนแรก ย้อมสีก่อนแปรงฟัน ฝึกท่าแปรงฟัน ทุกซี่ ทุกด้าน ขั้นตอนต่อมาย้อมสีหลังแปรงฟันและทดสอบความสะอาด

3.สร้างความร่วมมือกับผู้ปกครอง

  • สื่อสารปัญหาสุขภาพช่องปากเด็กให้ผู้ปกครองทราบและช่วยดูแลเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากของนักเรียน

  • กรณีที่พบเด็กฟันผุ แจ้งผู้ปกครองทราบและส่งต่อเข้ารับการรักษา

4.จัดประกวดกิจกรรม “หนูน้อยฟันสวย”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • นักเรียนร้อยละ 100 ได้แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร

  • นักเรียนร้อยละ 95 แปรงสีฟันอยู่ในสภาพดี และใช้ยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์

  • นักเรียนร้อยละ 100 มีที่เก็บอุปกรณ์การแปรงฟัน

  • ร้อยละ 90 ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการดูแลการแปรงฟันของนักเรียน

 

0 0

4. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพช่องปาก โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัยแก่เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง

วันที่ 15 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม

  1. ส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคฟันผุ อาการ สาเหตุ และการรักษาอย่างถูกวิธี

  2. ส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารอย่างถูกวิธี เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุ

  3. เจ้าหน้าที่สอน/สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธีให้กับเด็กและผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียน/ผู้ปกครอง ครู ร้อยละ 90 ให้ความร่วมมือและสนใจในการรับการอบรมจากวิทยากร ที่ให้ความรู้เป็นอย่างดีโดยประเมินจากผลแบบทดสอบก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม

  2. นักเรียน ผู้ปกครองได้ทดลองฝึกปฏิบัติในการแปรงฟันที่ถูกวิธี

  3. นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีความสนใจและให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพทางช่องปากของตนเองและบุตรหลาน

 

0 0

5. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 1 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม

  1. รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

  2. จัดทำรายงานผลโครงการเสนอกองทุนตำบลอย่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก

  1. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจากเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข

  2. นักเรียนร้อยละ 100 ได้แปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน

  3. นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับการติดตามเยี่ยมพฤติกรรมการแปรงฟันไปยังผู้ปกครองพร้อมทั้งจัดทำแบบบันทึกการแปรงฟันของนักเรียนขณะอยู่ที่บ้าน

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพช่องปาก โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัยแก่เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง

  1. นักเรียน/ผู้ปกครอง ครู ร้อยละ 90 ให้ความร่วมมือและสนใจในการรับการอบรมจากวิทยากร ที่ให้ความรู้เป็นอย่างดีโดยประเมินจากผลแบบทดสอบก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม

  2. นักเรียน ผู้ปกครองได้ทดลองฝึกปฏิบัติในการแปรงฟันที่ถูกวิธี

  3. นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีความสนใจและให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพทางช่องปากของตนเองและบุตรหลาน

กิจกรรมที่ 3 สร้างสุขนิสัยการแปรงฟันให้กับนักเรียน

  • นักเรียนร้อยละ 100 ได้แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร

  • นักเรียนร้อยละ 95 แปรงสีฟันอยู่ในสภาพดี และใช้ยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์

  • นักเรียนร้อยละ 100 มีที่เก็บอุปกรณ์การแปรงฟัน

  • ร้อยละ 90 ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการดูแลการแปรงฟันของนักเรียน

กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี

  • นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับการดูแลเกี่ยวกับเรื่องอาหาร ขนม น้ำดื่มภายในโรงเรียนให้ปลอดภัยจากโรคฟันผุ

  • นักเรียนร้อยละ 90 มีส่วนร่วมในการผลิตสื่อการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับโรคฟันผุ

  • ร้อยละ 100 ห้องเรียนมีมุมส่งเสริมทันตสุขภาพที่เื้อต่อการเรียนรู้

  • ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีอุปกรณ์การแปรงฟันและมีที่จัดเก็บที่ถูกสุขลักษณะ

  • นักเรียนร้อยละ 90 มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี และมีอัตราฟันผุลดลง
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนและผู้ปกครอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก 2. นักเรียนร้อยละ 60 มีสุขภาพช่องปากที่ดีและมีอัตราฟันผุลดลง 3. เด็กที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการแก้ไข โดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข ร้อยละ 100
0.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 174 174
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 82 82
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครู 10 10
ผู้ปกครอง 82 82

บทคัดย่อ*

โรงเรียนบ้านปากปิง ได้ความตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญในการดูแลสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุของนักเรียน ในปีงบประมาณ 2563 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี และมีอัตราโรคฟันผุลดลง รู้จักการดูแลและการแปรงฟันอย่างถูกวิธีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากปละได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาอย่างถูกวิธี พร้อมทั้งสร้างเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี และมีความรู้เกี่ยวกับโรคฟันผุ รู้จักการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุ ซึ่งนักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านปากปิง เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ เกิดผลดีแก่นักเรียน ดังนี้

  1. นักเรียนและผู้ปกครอง มีความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพช่องปาก โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย เห็นความสำคัญในการดูแลปากและฟันของตนเองมากขึ้น

  2. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการส่งต่อรักษาอย่างถูกวิธี

  3. อัตราการเกิดฟันผุของนักเรียนลดลง

  4. มีสื่อและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี

จากการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุ ได้รับผลการพัฒนาที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ส่งผลให้นักเรียนมีพัฒนาการในการเรียนดียิ่งขึ้น

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. ระยะเวลาในการจัดอบรมน้อยเกินไป

  2. ผู้เข้าอบรมมีจำนวนมากเกินไปทำให้ได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติได้ไม่ทั่วถึง

  3. ทางโรงเรียนไม่มีสถานที่จัดอบรมที่เื้อต่อการใช้อุปกรณ์ทางเทคโนโลยี

 

  1. ควรแบ่งจำนวนผู้เข้ารับการอบรมเป็นกลุ่มเล็กๆ เพื่อมห้ได้รับความรู้และสามารถฝึกปฏิบัติได้ทั่วถึง

  2. ควรหาสถานที่ในการจัดอบรมที่เื้อต่อการใช้เทคโนโลยี


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุ

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 2 - 05 ระยะเวลาโครงการ 25 กุมภาพันธ์ 2563 - 25 กุมภาพันธ์ 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ห่างไกลโรคฟันผุ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 2 - 05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนบ้านปากปิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด