กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบหัวนา


“ โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคไม่ติดต่อ NCD คุณภาพ ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลยาบหัวนาอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ”

จังหวัดน่าน

หัวหน้าโครงการ
ภิญยา ไปมูลเปี่ยม

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคไม่ติดต่อ NCD คุณภาพ ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลยาบหัวนาอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

ที่อยู่ จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน

รหัสโครงการ 01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคไม่ติดต่อ NCD คุณภาพ ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลยาบหัวนาอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จังหวัดน่าน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดน่าน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบหัวนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคไม่ติดต่อ NCD คุณภาพ ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลยาบหัวนาอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคไม่ติดต่อ NCD คุณภาพ ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลยาบหัวนาอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดน่าน รหัสโครงการ 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบหัวนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) เป็นสถานบริการระดับปฐมภูมิ ที่ให้การดูแลสุขภาพประชาชนแบบองค์รวม เน้นบริการหลักในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ทั่วประเทศ ให้บริการเชิงรุก และเชิงรับเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง ลดการ เจ็บป่วย ลดความพิการ และการสูญเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อการพัฒนาระบบบริการของคลินิกโรคไม่ติดต่อ (์NCD) เป็นหัวใจสำคัญเชิงระบบ ส่งผลต่อกระบวนการ และคุณภาพ ของการให้บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบหัวนา ตำบลยาบหัวนาอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน”จึงได้ดำเนินงานคลินิ NCD คุณภาพ (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ปี 2562 ขึ้น เพื่อให้ รพ.สต. ประยุกต์ใช้ดำเนินงานพัฒนาคุณภาพของคลินิก NCD ปรับให้เหมาะสม ตามบริบทที่แตกต่างกันของแต่ละพื้นที่ ตลอดจนสามารถนำไปปรับใช้กับโรคไม่ติดต่ออื่น ๆ ได้ จะเป็นประโยชน์ในการสร้างโอกาสพัฒนาคุณภาพระบบบริการของคลินิก NCD ใน รพ.สต.ต่อไป ปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบหัวนา สสช ฮากฮาน รพสต.บ่อหอย ให้บริการผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 25 คน และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 150 คน และมีแนวโน้มผู้ป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงมารับบริการคลินิกโรคเรื้อรังใน รพ.สต. เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และจากการดำเนินงานรักษาพยาบาลและคัดกรองค้นหาผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในปี 2562 พบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 6 คน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 8 คน และกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 40 คน และกลุ่มสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 60 คนปัจจุบันแม้ว่าการรักษาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงใน รพ.สต. จะดีขึ้น กล่าวคือ มีแพทย์ออกให้บริการตรวจรักษาถึงในระดับ รพ.สต. ปีละ 1ครั้งเท่านั้น แต่กลุ่มที่สงสัยรายใหม่ กลุ่มป่วยขาดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระบบการติดตามดูแลฟื้นฟู การให้ความรู้ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน และการส่งเสริมสุขภาพทั้งทางกาย จิต และสังคม ภายหลังการรักษา ก็ยังมีระบบที่ไม่ดีเพียงพอ ทำให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังดังกล่าว มีภาวะแทรกซ้อน เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบหัวนา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำการสร้างกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในคลินิกของหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคต่าง ๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
  4. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก
  5. เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
  6. 1.เพื่อพัฒนาคลินิกเบาหวานความดันโลหิตสูงและสร้างแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพมาตรฐาน 2.เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงและญาติในชุมชน 3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ
  2. รณรงค์ป้องกันโรคเบาหวาน
  3. รณรงค์วันความดันโลหิตสูง
  4. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  5. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มป่วย 175 คน
  6. สรุปผลการดำเนินงาน
  7. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มสงสัย รายใหม่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 175
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์
  2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์
  3. ผู้ป่วยและญาติ มีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ และมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ

วันที่ 31 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นำผลการคัดกรองสุขภาพมาวิเคราะห์ คืนข้อมูลให้ประชาชน ผู้นำ อสม วางเเผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ร้อยละ 5 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 12

 

0 0

2. รณรงค์ป้องกันโรคเบาหวาน

วันที่ 9 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดป้ายในสถานบริการ ในสุขศึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม
ป้ายสติ๊กเกอร์การดูแล ตา ดูแล เท้า
ป้ายฟิวเจอร์บอร์ดเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง อาหารป้องกันโรคไต อาหารสามสี การออกกำลังกาย เรื่องตา ไต เท้า ป้ายรณรงค์วันเบาหวานโลก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มป่วยไม่มีภาวะเเทรกซ้อน

 

0 0

3. รณรงค์ป้องกันโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 14 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดป้ายในสถานบริการ ให้สุขศึกษา รายบุคคล รายกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานลดลง
ผุู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

 

0 0

4. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มป่วย 175 คน

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 08.00 น-08.30 น ลงทะเบียน
เวลา 08.30 น-09.00 น ประธานเปิดการประชุม เวลา 09.00 น-10.30 น ความรู้เรื่อง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงอาหารสามสี  อาหารที่ควรงด นางภิญยา ไปมูลเปี่ยม เวลา 10.30 น-12.00 น ภาวะแทรกซ้อนของโรค นางนงนุช ธาดาสิทธิ์ เวลา 13.00 น-14.30 น การตรวจตา ไต  เท้า เบื้องต้น นางภิญยา ไปมูลเปี่ยม นางนงนุช ธาดาสิทธิ์ เวลา 14.30 น-16.30 น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามเข็มนาฬิกา นางภิญยา ไปมูลเปี่ยม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถบอกพฤติกรรมก่อนได้ตามนาฬิกาชีวิตเเละสามารถบอกสิ่งที่จะต้องเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองได้

 

175 0

5. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มสงสัย รายใหม่

วันที่ 18 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 08.00 น-08.30 น ลงทะเบียน
เวลา 08.30 น-09.00 น ประธานเปิดการประชุม เวลา 09.00 น-10.30 น ความรู้เรื่อง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง นางภิญยา ไปมูลเปี่ยม เวลา 10.30 น-12.00 น ความรู้เรื่อง อาหารสามสี  อาหารที่ควรงด นางภิญยา ไปมูลเปี่ยม เวลา 13.00 น-14.30 น กิจกรรมประเมินความรู้ด้านสุขภาพ นางนงนุช ธาดาสิทธิ์ นางสาวสันต์ฤทัย สิทธิโน เวลา 14.30 น-16.30 น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามเข็มนาฬิกา นางภิญยา ไปมูลเปี่ยม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป้าหมายบอกพฤติกรรมก่อนเเละหลังได้

 

100 0

6. สรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 21 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

สรุปโครงการพบว่าการทำโครงการที่ควบ3สถานบริการไม่ประสบความสำเร็จ จากฐานข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผผผลการดำเนินการที่ทำร่วม3สถานบริการนั้นไม่สำเร็จด้วยระยะทางที่ห่างไกล ฐานข้อมูล

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลลัพธ์ 1.คลินิกเบาหวานความดันโลหิตสูงของ รพสต.ยาบหัวนา ได้รวมเครือข่าย สสช.ฮากฮาน ได้พัฒนาเป็นคลินิก NCD   1.1มีรูปแบบการจัดระบบบริการในคลินิกที่ชัดเจนสามารถเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ   2.2 การปรับระบบและกระบวนการบริการ           • ให้การวินิจฉัยและลงทะเบียนผู้ป่วยรายใหม่กลุ่มเสี่ยงสูงที่ส่งต่อจากเครือข่าย           • มีการประเมิน ระยะของโรค ความเสี่ยง โอกาสเสี่ยงและปัจจัยกําหนดของผู้รับบริการ
          • ให้การบริการป้องกันควบคุมโรค และดูแลรักษาสอดคล้องกับระยะของโรค โดยสหวิชาชีพ           • มีผู้ประสานงานโรคเรื้อรัง (NCDs Case Manager/Coordinator)           • มีเครือขายการดูแลและรักษาโรคเรื้อรังของสถานบรการและเชื่อมโยงไปยังชุมชน           • มีระบบส่งต่อทั้งไปและกลับที่ทําให้ผู้รับบริการเข้าถึงบริการได้ง่าย และได้รับการดูแลที่ ต่อเนื่อง   2.3  การประเมิน  ระยะของโรค ความเสี่ยง โอกาสเสี่ยง และปัจจัยกำหนดของผุ้รับบริการ
2.เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงและญาติในชุมชน 2.1 รูปแบบให้ อสม ดูแลตามหลังคาที่รับผิดชอบ โดยการคัดกรองเบื้องต้น วัดความดันโลหิตเป็นประจำ ส่งผลการวัดทางกลุ่มไลน์ รวมถึงปัญหา การดูแลเรื่องอาหารวัดความเค็มของอาหาร การส่งต่อความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การรับประทานยา อย่างต่อเนื่อง กรณี ไม่สามารถไปรับบริการได้ ทาง รพ.สต.จะฝากยาถึงบ้าน
3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ 3.1การดูแลจะแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ1. แบบไม่เร่งด่วน จะดูแลตามปกติ 2. แบบเร่งด่วนปานกลาง จะติดตามเป็นรายกรณี และประสานแพทย์และทรมสหวิชาชีพ 3.แบบเร่งด่วน ติดตามเป็นกรณีพิเศษรวมถึงเยี่ยมบ้าน ประสานแพทย์และทีมสหวิชาชีพ ได้รับมาตรฐานเป็น คลินิก NCD คุณภาพ ระดับ รพ.สต 1.ผู้ป่วยได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี ตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อน ตา จอประสาทตา ไต เท้า และตรวจแลปประจำปี
2.ให้ความรู้ เรื่อง โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และการปฏิบัติตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานโรคหลอดเลือดสมอง ,uมุมDPAC (Diet & Physical Activity Clinic )
3.ทีมสุขภาพร่วมกับอบต.ในการติดตามเยียมผู้ป่วยเบาหวานผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะเสี่ยงต่อการ
วิเคราะห์ปัญหาจากการประเมิน แบบประเมินนาฬิกา HL

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
5.00 1.00 1.81

ผู้ดื่มสุราดื่มเครื่ิงดื่มชูกำลัง กินหวานมันเค็มเครียด

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
12.00 5.00 9.17

เครียด ดื่มสุรา สูบบุหรี่

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
8.00 2.00 0.17

ผู้ป่วยล้างไตทางหน้าท้องอยู่เดี่ยว

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก ลดลง
0.00

 

5 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง
2.50 0.00 0.00

 

6 1.เพื่อพัฒนาคลินิกเบาหวานความดันโลหิตสูงและสร้างแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพมาตรฐาน 2.เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงและญาติในชุมชน 3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.มีคลินิกเบาหวานความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่มีคุณภาพมาตรฐาน 2.กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย เข้า ร่วมกิจกรรม มากกว่า ร้อยละ 80 3.กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยและญาติสามารถการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพได้มากกว่าร้อยละ 80 4.การมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 275 275
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 175 175
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก (5) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย (6) 1.เพื่อพัฒนาคลินิกเบาหวานความดันโลหิตสูงและสร้างแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพมาตรฐาน  2.เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงและญาติในชุมชน          3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ (2) รณรงค์ป้องกันโรคเบาหวาน (3) รณรงค์วันความดันโลหิตสูง (4) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (5) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มป่วย 175 คน (6) สรุปผลการดำเนินงาน (7) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มสงสัย รายใหม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

การดำเนินงานที่ไม่ประสบความสำเร็จ

3 สถานบริการห่างไกล ฐานข้อมูลไม่เชื่อมโยงกัน

จัดเเบ่งงบประมาณเหลือ 2 สถานบริการ


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคไม่ติดต่อ NCD คุณภาพ ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลยาบหัวนาอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

รหัสโครงการ 01 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ความรู้สื่อเตือนภัยstroke การตรวจอาหารเค็ม

สติ๊กเกอร์ติดบ้านผุ้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ภาพการรายงานจาก อสม

ทำต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ผ้าขาวม้าเเละมะกรูด นวด ลดการกินยา

ใช้นวดบรรเทาอาการปวดข้อของผู้ป่วย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การรับบริการคลินิกดูแลถึงบ้าน ถึงเเม้ไม่ไปตามนัด ส่งยาถึงบ้าน

การส่งงานในกลุ่มไลน์ของ อสม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การติดตามดูเเลจาก รพ แม่ข่ายถึงชุมชนอย่างต่อเนื่อง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

ชมรมผู้ป่วยNCD

ทะเบียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

การจัดระบบคลินิกตามมาตรฐาน คลินิกNCDคุณภาพ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ใช้รูปแบบนาฬิกา บอกพฤติกรรมก่อนหลัง สอบถามความรู้และดูการเปลี่ยนเเปลง

บันทึกประวัติในOPD Card

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

งานในชุมชน จะมีการเฝ้าระวังอาหารหวานมันเค็ม

การตรวจจาก อสม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ออกกำลังกายด้วยตัวเอง เเกว่งเเขน การเดินใช้ผ้าขาวม้า มะกรุด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

งานสีดำ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคล งานกีฬา

งารวิจัย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

มีกิจกรรมสนุกสนาน

การนัดผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงพบปะ 2 เดือน1ครั้ง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

มะกรูด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

แลกเปลี่ยน เล่าเรื่อง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

โครงการขยะ อบต สิ่งเเวดล้อม ปลูกผักของผู้ป่วย ผู้สูงอายุเเละอสม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคไม่ติดต่อ NCD คุณภาพ ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลยาบหัวนาอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน

รหัสโครงการ 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ภิญยา ไปมูลเปี่ยม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด