กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและระบบสร้างเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ปีงบประมาณ 2563 ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางฮับเซาะห์ แอหลัง




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและระบบสร้างเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5313-01-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 28 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและระบบสร้างเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและระบบสร้างเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและระบบสร้างเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5313-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 28 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง ได้จัดบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี (Well Baby Clinic) เป็นหน่วยบริการสุขภาพสำหรับเด็กดี จัดเป็นภารกิจสำคัญของงานการดูแลส่งเสริมสุขภาพเด็ก (Child health supervision หรือ Well child care) มีบทบาทในการเสริมสร้างให้เด็กมีสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัยตั้งแต่แรกเกิด มีสุขภาพช่องปากดี ด้วยบริการที่ดูแลเด็กปกติให้มีสุขภาพแข็งแรง เติบโตทั้งทางกายและสติปัญญาได้เต็มศักยภาพ พร้อมวุฒิภาวะทางอารมณ์ สถานการณ์ทางสุขภาพของเด็กปฐมวัยในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมืองปี พ.ศ.๒๕๖๒ มีเด็กปฐมวัย จำนวน 6๘๓ คน พบว่า ผลการคัดกรองพัฒนาการเด็ก อายุ ๙, 18, 30 และ ๔๒ เดือน สงสัยล่าช้าในการคัดกรองครั้งแรกยังคงมากกว่า ร้อยละ ๓๐ สภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ในเด็ก ๖ เดือน ถึง ๑ ปี ร้อยละ ๒๗.๕ เด็กอายุ 0-5 ปี ไม่ผ่านเกณฑ์สูงดีสมส่วน ร้อยละ ๑๔.๖1 และมีฟันผุ ร้อยละ ๖๙.๔๒ จากสภาพดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมืองได้ทำการวิเคราะห์สภาพปัญหา ถอดบทเรียนร่วมกับเครือข่ายพัฒนาระบบสุขภาพ พบว่า ปัจจัยด้านผู้เลี้ยงดู ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ระดับความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการ พัฒนาการ ของผู้ปกครอง และการเข้าถึงบริการทางสุขภาพมีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพของเด็กปฐมวัย จากความสำคัญดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมืองได้ตระหนักและเห็นถึงความจำเป็นต่อการแก้ปัญหาสุขภาพกลุ่มเด็กปฐมวัย จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ๐ - ๕ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เพื่อค้นหาเด็กที่มีภาวะเสี่ยงทางสุขภาพ ให้ความช่วยเหลือโดยจัดบริการเชิงรุกตามสิทธิประโยชน์ทางสุขภาพ พัฒนาศักยภาพเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวัง ให้คำแนะนำและสร้างความรู้ ความเข้าใจและทัศนคติที่ถูกต้องแก่ผู้ปกครอง ให้เกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการเลี้ยงดูบุตรหลานให้มีภาวะสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองภาวะสุขภาพเด็กปฐมวัย ๐ – ๕ ปี ในชุมชน (โภชนาการ, ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด) และให้ความรู้ผู้ปกครอง (กลุ่มเสี่ยงภาวะทุพโภชนาการ)
  2. เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพโภชนาการ, ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด และการเฝ้าระวัง แก่เครือข่ายและผู้ปกครอง (การใช้ App)
  3. เพื่อจัดระบบบริการสุขภาพ รักษา ฟื้นฟู และส่งต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุม วิเคราะห์ ถอดบทเรียน วางแผนการดำเนินงาน วิเคราะห์การดำเนินงาน และประเมินผล ใช้กระบวนการ AIC (เครือข่ายในชุมชน)
  2. อบรมการใช้โปรแกรม Kid Diary ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ประเมินภาวะโภชนาการ พัฒนาการและวัคซีนใน Smartphone สำหรับเครือข่ายในชุมชนผู้ปกครองและผู้สนใจ
  3. คัดกรองภาวะสุขภาพเด็กปฐมวัย ๐ – ๕ ปี ในชุมชน ( ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด) และให้ความรู้ผู้ปกครอง
  4. จัดระบบบริการสุขภาพ รักษา ฟื้นฟู และส่งต่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทราบจำนวนเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพในปี ๒๕๖๓
    1. เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการรักษา ติดตาม ส่งต่ออย่างเป็นระบบ
    2. เด็กปฐมวัยมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุม วิเคราะห์ ถอดบทเรียน วางแผนการดำเนินงาน วิเคราะห์การดำเนินงาน และประเมินผล ใช้กระบวนการ AIC (เครือข่ายในชุมชน)

วันที่ 24 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม วิเคราะห์ ถอดบทเรียน วางแผนการดำเนินงาน วิเคราะห์การดำเนินงาน และประเมินผล ใช้กระบวนการ AIC (เครือข่ายในชุมชน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ค้นหาปัญหาในชุมชนที่แท้จริง

 

36 0

2. อบรมการใช้โปรแกรม Kid Diary ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ประเมินภาวะโภชนาการ พัฒนาการและวัคซีนใน Smartphone สำหรับเครือข่ายในชุมชนผู้ปกครองและผู้สนใจ

วันที่ 31 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการใช้โปรแกรม Kid Diary ประเมินภาวะโภชนาการ พัฒนาการและวัคซีนใน Smartphone

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองและเครือข่ายสามารถใช้โปรแกรม Kid Diary เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ พัฒนาการและวัคซีนใน Smartphone ได้

 

36 0

3. จัดระบบบริการสุขภาพ รักษา ฟื้นฟู และส่งต่อ

วันที่ 1 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดระบบบริการสุขภาพ รักษา ฟื้นฟู และส่งต่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กที่มีปัญหาทางสุขภาพได้รับการรักษา ติดตาม

 

0 0

4. คัดกรองภาวะสุขภาพเด็กปฐมวัย ๐ – ๕ ปี ในชุมชน ( ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด) และให้ความรู้ผู้ปกครอง

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองภาวะสุขภาพเด็กปฐมวัย ๐ – ๕ ปี ในชุมชน ( ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด) และให้ความรู้ผู้ปกครอง - อบรมให้ความรู้/คำแนะนำ/คัดกรองโภชนาการและภาวะซีด - อบรมให้ความรู้/คำแนะนำ/คัดกรองทันตสุขภาพ ตรวจพัฒนาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้ปกครองและเครือข่ายมีความรู้ด้านสุขภาพโภชนาการ,ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองภาวะสุขภาพเด็กปฐมวัย ๐ – ๕ ปี ในชุมชน (โภชนาการ, ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด) และให้ความรู้ผู้ปกครอง (กลุ่มเสี่ยงภาวะทุพโภชนาการ)
ตัวชี้วัด : ค้นพบจำนวนเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพด้าน โภชนาการ, ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ ๒๐ ได้รับการคัดกรอง ผู้ปกครอง มีผลการวัดความรู้ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (ตอบถูก ๗ ใน ๑๐ ข้อ) ร้อยละ ๘๐
0.00

 

2 เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพโภชนาการ, ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด และการเฝ้าระวัง แก่เครือข่ายและผู้ปกครอง (การใช้ App)
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและเครือข่ายมีความรู้ด้านสุขภาพโภชนาการ, ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด แก่เครือข่ายและผู้ปกครอง มีผลการวัดความรู้ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (ตอบถูก ๘ ใน ๑๐ ข้อ) ร้อยละ ๘๐
0.00

 

3 เพื่อจัดระบบบริการสุขภาพ รักษา ฟื้นฟู และส่งต่อ
ตัวชี้วัด : เด็กที่มีปัญหาทางสุขภาพได้รับการรักษา ติดตาม ส่งต่อ ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองภาวะสุขภาพเด็กปฐมวัย ๐ – ๕ ปี ในชุมชน (โภชนาการ, ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด) และให้ความรู้ผู้ปกครอง (กลุ่มเสี่ยงภาวะทุพโภชนาการ) (2) เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพโภชนาการ, ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด และการเฝ้าระวัง แก่เครือข่ายและผู้ปกครอง (การใช้ App) (3) เพื่อจัดระบบบริการสุขภาพ รักษา ฟื้นฟู และส่งต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม วิเคราะห์ ถอดบทเรียน วางแผนการดำเนินงาน วิเคราะห์การดำเนินงาน และประเมินผล ใช้กระบวนการ AIC (เครือข่ายในชุมชน) (2) อบรมการใช้โปรแกรม Kid Diary ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ประเมินภาวะโภชนาการ พัฒนาการและวัคซีนใน Smartphone สำหรับเครือข่ายในชุมชนผู้ปกครองและผู้สนใจ (3) คัดกรองภาวะสุขภาพเด็กปฐมวัย ๐ – ๕ ปี ในชุมชน ( ทันตสุขภาพ,พัฒนาการ,ภาวะซีด) และให้ความรู้ผู้ปกครอง (4) จัดระบบบริการสุขภาพ รักษา ฟื้นฟู และส่งต่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและระบบสร้างเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5313-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮับเซาะห์ แอหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด