กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง


“ โครงการร่วมใจเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ในตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวแวฆูลียะห์แวอาแซ

ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ในตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2524-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 29 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมใจเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ในตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใจเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ในตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมใจเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ในตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2524-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 29 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ยังคงเป็นปัญหาที่ต่อเนื่องและยาวนาน กระบวนการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมามีความแตกต่างที่หลากหลายและมีการปรับกลยุทธ์กันมาหลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็นการให้ความรู้เรื่องพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การสาธิตอาหาร การจ่ายอาหารเสริม การเยี่ยมการติดตาม เป็นต้น แต่กระบวนการหรือวิธีการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กมีสาเหตุปลายประการเช่น ปัญหาด้านความรู้เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม สรีระภาพการเจ็บป่วยต่างๆและสภาพภูมิอากาศ ล้วนเป็นสาเหตุที่ส่งผลกระทบต่อเด็กที่จะทำให้มีพัฒนาการไม่สมวัยในที่สุดก็จะเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กอย่างต่อเนื่อง การร่วมมือกันของชุมชนในการวิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริงของการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กและค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหาได้อย่างตรงประเด็น นั้น ผู้มีบทบาทสำคัญ คือ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. สมาชิก อบต. ผู้ดูแลเด็กในศูนย์เด็กเล็ก ผู้ปกครองเด็กที่ร่วมในการลดปัญหาการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ให้ลดลงและหมดไป จากข้อมูลในปี 2559 การชั่งน้ำหนักเด็ก 0-72 เดือน จำนวน 365 ราย ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ พบว่าเด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 16 รายคิดเป็นร้อยละ 4.38 และมีแนวโน้มที่จะมีน้ำหนักน้อยกว่่าเกณฑ์ จำนวน 35 รายคิดเป็นร้อยละ 9.58 ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ จึงมีแนวคิดใช้พื้นที่ดังกล่าว นำร่อง ดูแบชุมชนโดยชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมใช้กระบวนการประชาคม และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาที่ยังยืน เป็นแนวทางในการดำเนินโครงการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน
  2. เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน
  3. เพื่อให้ชุมชนได้วิเคราะห์หาสาเหตุของภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ร่วมกันแก้ไขปัญหา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผู้ปกครองเด็ก 0-7 เดือน มีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการในรูปแบบการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ชุมชนสามารถวิเคราะห์สาเหตุ ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาภาวะทุพโภชนาการพร้อมทั้งแก้ไขปัญหาร่วมกัน ส่งผลให้เด็ก 0-72 เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการดูแลให้มีพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจอย่างสมวัยและต่อเนื่อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    เป้าหมายของโครงการ -ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการจำนวน 4 หมู่ ๆ ละ จำนวน 10 ราย จำนวน 40 ราย ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด -เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน -เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน -เพื่อให้ชุมชนได้วิเคราะห์สาเหตุของภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ร่วมกันแก้ไขปัญหา งบประมาณอนุมัติ  23,000  บาท -งบประมาณเบิกจ่ายจริง  23,000  บาท คิดเป็นร้อยละ 100 บาท -งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 0 บาท ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน -ผู้ปกครองเด็กไม่มีเวลาทำอาหารเช้าให้เด็ก -การขาดความรู้ที่ถูกต้องของครอบครัวในการเลี้ยงดูและในการจัดอาหารให้แก่เด็กและความเชื้อบางอย่างห้ามกินอาหารบางชนิด -ปัญหาทางเศรษฐกิจ ความจำกัดของครอบครัวที่จะผลิตหรือซื้ออาหาร -การขาดความเอาใจใส่ในการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพตามวัย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน
    ตัวชี้วัด : เด็กที่ขาดสารอาหารได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง

     

    2 เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน
    ตัวชี้วัด : เด็กในพื้นที่ตำบลกาหลงได้รับการดูแลไม่ขาดสารอาหารลดลง

     

    3 เพื่อให้ชุมชนได้วิเคราะห์หาสาเหตุของภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ร่วมกันแก้ไขปัญหา
    ตัวชี้วัด : ดูจากความร่วมมือของชุมชนว่าให้ความร่วมมือในการร่วมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน (2) เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน (3) เพื่อให้ชุมชนได้วิเคราะห์หาสาเหตุของภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ร่วมกันแก้ไขปัญหา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการร่วมใจเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ในตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2524-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวแวฆูลียะห์แวอาแซ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด