กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง


“ เครือข่ายระวังภัย เทศบาลยะหริ่งใส่ใจ ใช้ยาในชุมชน ”

เทศบาลตำบลยะหริ่ง

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ เครือข่ายระวังภัย เทศบาลยะหริ่งใส่ใจ ใช้ยาในชุมชน

ที่อยู่ เทศบาลตำบลยะหริ่ง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L8284-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"เครือข่ายระวังภัย เทศบาลยะหริ่งใส่ใจ ใช้ยาในชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลตำบลยะหริ่ง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เครือข่ายระวังภัย เทศบาลยะหริ่งใส่ใจ ใช้ยาในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " เครือข่ายระวังภัย เทศบาลยะหริ่งใส่ใจ ใช้ยาในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลตำบลยะหริ่ง รหัสโครงการ 64-L8284-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากปัญหาการกระจายของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีการปลอมปนสเตียรอยด์ มีการโฆษณาหลอกลวงให้หลงใช้ยาที่ด้อยคุณภาพและอาจมีอันตราย ปัญหาเหล่านี้ยังคงดํารงอยู่และมีแนวโน้มที่รุนแรงขึ้นทั้งๆที่มีการเฝาระวังความปลอดภัยด้านยาเชิงรับเป็นประจําอยู่แล้ว แต่การดำเนินการดังกล่าวยังขาดการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการร่วมเฝ้าระวัง รวมถึงการค้นหาปัญหาด้านยาอันตรายในชุมชนเชิงรุก ดังนั้น เพื่อลดความเสี่ยง ที่อาจจะเกิดขึ้นต่อประชาชนในชุมชน จึงควรสร้างกลไกการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาเชิงรุกในชุมชน (Active Community based surveillance) เพื่อให้มีข้อมูลสถานการณ์ความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ชัดเจน สนำมาสู่การแก้ไขโดยชุมชนต่อ จากการสำรวจการใช้ยาในครัวเรือนผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในเขตเทศบาลตำบลยะหริ่ง ปีงบประมาณ 2564 จำนวน 52 ครัวเรือน พบว่า มีผู้ป่วยร้อยละ 10.53 (6/52) มีการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพเสี่ยงสเตียรอยด์ มีลักษณะเป็นผง แคปซูล ไม่มีฉลากยา ได้รับจากหมอบ้าน จากการประเมินการรับรู้เกี่ยวกับสเตียรอยด์ พบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่รู้จักสเตียรอยด์ทั้งข้อบ่งชี้ และผลเสียจากการใช้ ผู้ป่วยเห็นด้วยกับเมื่อมีอาการไม่สบาย ปวดเมื่อย ช่วยทำให้โรคหายเร็วขึ้น และร้อยละ 30.68 มีพฤติกรรมกินยาสมุนไพรหรือยาแผนโบราณร่วมกับยาแผนปัจจุบันเพื่อช่วยรักษาโรคที่เป็นอยู่ จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่า ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา โดยเฉพาะการเลือกซื้อ เลือกใช้ มักใช้ยาตามคำบอกเล่า เชื่อตามโฆษณา ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายด้านยาที่ไม่สมเหตุผล อีกทั้งอาจส่งผลเสียในระยะยาวได้
ปัญหาจากการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค คปสอ.ยะหริ่ง ณ ปัจจุบัน คือ ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยหรือยาแผนโบราณที่เสี่ยงปนเปื้อนสเตียรอยด์ในแต่ละพื้นที่ตำ่กว่าเป็นจริง ทั้งนี้อาจเนื่องจากยังขาดระบบเฝ้าระวังเชิงรุกโดยเครือข่ายในชุมชน ทำให้ยังไม่มีการรายงานเมื่อพบผลิตภัณฑ์สุขภาพต้องสงสัย ซึ่งส่งผลให้ยังไม่มีระบบการจัดการเพื่อควบคุมปัญหาโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ด้วยเหตุนี้ จึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบเฝ้าระวังเชิงรุกโดยเครือข่ายในชุมชน โดยมีคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเทศบาลตำบลยะหริ่งเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน เพื่อให้ชุมชนสามารถดักจับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่อาจเป็นอันตรายแก่คนในชุมชน อีกทั้งยังต้องช่วยเพิ่มองค์ความรู้ให้แก่คนในชุมชนฉลาดใช้ยา ไม่ตกเป็นเหยื่อโฆษณาหลอกลวง ใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างสมเหตุผล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างระบบ/กลไกเชิงรุกในการเฝ้าระวังยาอันตรายในชุมชน2. เพื่อควบคุม และจัดการยาอันตรายโดยเครือข่ายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. พัฒนาระบบเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาเชิงรุก เทศบาลตำบลยะหริ่ง
  2. 2. พัฒนาชุมชนนำร่องปลอดยาอันตราย โดยคนในชุมชน
  3. 3.ขยายเครือข่ายระวังภัยฯแก่ชุมชนอื่น ร่วมดำเนินงานครอบคลุมทุกชุมชน (6 ชุมชน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะกรรมการ คบส.เทศบาลตำบลยะหริ่ง 15

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาในชุมชน
  2. มีรูปแบบการเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยโดยเครือข่ายในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างระบบ/กลไกเชิงรุกในการเฝ้าระวังยาอันตรายในชุมชน2. เพื่อควบคุม และจัดการยาอันตรายโดยเครือข่ายในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. เกิดรูปธรรมการเฝ้าระวังและจัดการยาอันตราย โดยเครือข่ายในชุมชน 2. ร้อยละ 50 ของยาอันตรายที่พบได้รับการจัดการ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะกรรมการ คบส.เทศบาลตำบลยะหริ่ง 15

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างระบบ/กลไกเชิงรุกในการเฝ้าระวังยาอันตรายในชุมชน2. เพื่อควบคุม และจัดการยาอันตรายโดยเครือข่ายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. พัฒนาระบบเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาเชิงรุก เทศบาลตำบลยะหริ่ง (2) 2. พัฒนาชุมชนนำร่องปลอดยาอันตราย โดยคนในชุมชน (3) 3.ขยายเครือข่ายระวังภัยฯแก่ชุมชนอื่น ร่วมดำเนินงานครอบคลุมทุกชุมชน (6 ชุมชน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เครือข่ายระวังภัย เทศบาลยะหริ่งใส่ใจ ใช้ยาในชุมชน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L8284-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด