กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลพลัดตกหกล้ม ปี 2564 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลพลัดตกหกล้ม ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L6895-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลพลัดตกหกล้ม ปี 2564 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลพลัดตกหกล้ม ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลพลัดตกหกล้ม ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L6895-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,680.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสังคมสูงวัย (aging society) โดยในปี 2563  ประเทศไทยมี สัดส่วนผู้สูงอายุ ร้อยละ 1 ส่งผลให้ผู้สูงอายุต้องอยู่ในภาวะโรคเรื้อรังมากขึ้น เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคกระดูกพรุน เป็นต้น ทำให้ต้องมีการรักษาที่ต่อเนื่องและยาวนาน แต่ร่างกายทีเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้นอาจทำให้มีการผิดรูปของข้อต่างๆ ส่งผลให้เกิดข้อเสื่อม ทำให้มีการทรงตัว และการเคลื่อนไหวผิดปกติ ผลที่ตามมาคือ ทำให้เกิดการพลัดตกหกล้ม ผลกระทบของการพลัดตกหกล้มส่งผลทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจจากรายงานการพยากรณ์ การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ พ.ศ.2560-2564 คาดว่าจะมีผู้สูงอายุหกล้ม ปีละ 3,030,900-5,506,000 คน ซึ่งในจำนวนนี้จะมีผู้เสียชีวิตจำนวน 5,700-10,400 คน ผลกระทบต่อจิตใจทำให้เกิดการกลัวต่อการหกล้ม สูญเสียความมั่นใจในการทำกิจกรรม ผลกระทบด้านเศรษฐกิจต้องเสียค่ารักษา พยาบาล และการฟื้นฟูสภาพเป็นเวลานาน และการดูแลที่ต่อเนื่อง ตลอดจนส่งผลต่อการขาดรายได้ของสมาชิกในครอบครัวที่ต้องมาดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้ม จากข้อมูลรายงานสถิติการแพทย์ฉุกเฉิน ระหว่างเดือน กันยายน 2561 -  กันยายน 2562
จังหวัดตรัง พบว่าจำนวนผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุพลัดตกหกล้ม 5 อันดับแรกได้แก่ อำเภอเมืองตรัง จำนวน 555 ราย รองลงมาอำเภอห้วยยอด จำนวน 191 ราย อำเภอกันตัง จำนวน 139 ราย อำเภอนาโยง จำนวน 95 ราย และอำเภอย่านตาขาวจำนวน 84 รายตามลำดับ ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลกันตัง  ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการ แก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้เรื่องวิธีการป้องกันการพลัดตกหกล้ม การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแรงของกล้ามเนื้อและการทรงตัว และการปรับปรุงที่อยู่อาศัยเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง สามารถปฏิบัติตัวในเรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
  2. เพื่อลดอัตราการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุเขตเทศบาลเมืองกันตัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  3. กิจกรรมลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้าน/ประเมิน/แก้ไขสภาพแวดล้อม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง สามารถปฏิบัติตัวป้องกันการพลัดตกหกล้ม
  2. อัตราการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการไม่เกินร้อยละ 5

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน

วันที่ 11 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • บรรยายเรื่อง สรีระวิทยากับการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุและการป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายและฝึกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพผู้สูงอายุแบบ Time up and go Test
  • ตอบข้อซักถามและสุปผลการเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน 12 ชุมชนๆละ 4 คน ให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสรีระวิทยากับการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ และการป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ พร้อมฝึกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพของผู้สูงอายุ ในเรื่อง Time up and go Test และ Five time sit to stand test วันที่ 11 มีนาคม 2564 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง 1.2  ตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน ขยายลงเครือข่ายร่วมคัดกรองผู้สูงอายุในชุมชนโดยใช้แบบประเมิน  falling assessment tool  และแจ้งผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงให้เจ้าหน้าที่ทราบเพื่อเชิญผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเข้ารับการอบรม
1.3 ผลการประเมินทดสอบสมรรถภาพผู้สูงอายุที่ต้องเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คนมีดังนี้ - Time up and go Test ใช้เวลา ≥ 10 sec มีความเสี่ยง  จำนวน  33  ราย  ( ปกติ≤10sec ) - Five time sit to stand test ใช้เวลา ≥ 12 sec มีความเสี่ยง  จำนวน  37  ราย ( ปกติ≤12sec )

 

48 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 18 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน/ประเมินความรู้ก่อนการอบรม
  • พิธีเปิด
  • บรรยายเรื่อง สถานการณ์การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุและผละกระทบต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายเรื่อง สรีระวิทยากับการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุในผู้สูงอายุ  และการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
  • พักรับประทานอาหารงวัน บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ เรื่อง การออกกำลังกายแบบไทเก๊ก
  • แบ่งกลุ่มเข้่าฐานการเรียนรู้ 4 ฐาน ฐานที่ 1 เรียนรู้เรื่อง ยาและประเมินการใช้ยาในผู้สูงอายุ  ฐานที่ 2 เรียนรู้การทรงตัวและการใช้อุปกรณ์ช่วยเดินป้องกันพลัดตกหกล้ม  ฐานที่ 3 เรียนรู้เรื่องสภาพแวดล้อมในบ้านที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม  ฐานที่ 4 เรียนรู้เรื่องการเพิ่มความแข็งแรงกล้ามเนื้อสะโพก เข่าและข้อเท้า
  • ตอบข้อซักถามและสรุปผลการเรียนรู้/ประเมินความรู้หลังการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง 2.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเสี่ยง จำนวน  70  คน ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับสรีระวิทยากับการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ  การป้องกันการพลัดตกหกล้ม และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายแบบไทเก๊ก พร้อมแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้  4  ฐาน ได้แก่  ฐานเรียนรู้..เรื่องยาและประเมินการใช้ยาในผู้สูงอายุ ฐานเรียนรู้..เรื่องกายบริหารเพิ่มความแข็งแรงกล้ามเนื้อ ฐานเรียนรู้...เรื่องสภาพแวดล้อมในบ้านที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม และฐานเรียนรู้...เรื่องการทรงตัวและการใช้อุปกรณ์ช่วยเดินป้องกันการพลัดตกหกล้ม โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง เมื่อวันที่  18  มีนาคม  2564  ณ  อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง
  2. มีการประเมินก่อน-หลังให้ความรู้ผู้เข้าร่วมอบรม  ผลการประเมินมีดังนี้

- ก่อนการอบรม  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน  จำนวน 62  ชุด  พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้รับ คะแนนสูงสุดอยู่ช่วงคะแนน 11-15 คะแนน มีจำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 45.16 รองลงมาคือช่วงคะแนน 6-10 คะแนน  มีจำนวน 22 คน  คิดเป็นร้อยละ 35.48  และช่วงคะแนน 1-5 คะแนน มีจำนวน 12 คน  คิดเป็นร้อยละ 19.36 - หลังการอบรม    ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 62 ชุด    พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้รับ คะแนนสูงสุดอยู่ช่วงคะแนน 11-15 คะแนน มีจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 48.39 รองลงมาคือช่วงคะแนน 6-10 คะแนน  มีจำนวน 22 คน  คิดเป็นร้อยละ 35.48  และช่วงคะแนน 1-5 คะแนน มีจำนวน 10 คน  คิดเป็นร้อยละ 16.13

 

70 0

3. กิจกรรมลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้าน/ประเมิน/แก้ไขสภาพแวดล้อม

วันที่ 2 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ทบทวนความรู้ในเรื่องต่างๆของการป้องกันความเสี่ยงพลัดตกหกล้ม ประเมินสภาพแวดล้อมที่บ้าน แนะแนวทางพร้อมร่วมแก้ไขปัญหาสภาพแวดล้อมที่บ้านลดเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม  จำนวน  11  ราย
  • ปรับปรุงสภาพแวดล้อม โดยการเพิ่ม/ปรับเปลี่ยนหลอดไฟ  เพื่อเพิ่มแสงสว่างในบริเวณ ที่มีความเสี่ยงที่ทำให้ผู้สูงอายุพลัดตกหกล้ม  จำนวน  8 ราย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.กิจกรรมอบรมตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน 1.1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน 12 ชุมชนๆละ 4 คน ให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสรีระวิทยากับการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ และการป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ พร้อมฝึกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพของผู้สูงอายุ ในเรื่อง Time up and go Test และ Five time sit to stand test วันที่ 11 มีนาคม 2564 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง 1.2 ตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน ขยายลงเครือข่ายร่วมคัดกรองผู้สูงอายุในชุมชนโดยใช้แบบประเมิน  falling assessment tool และแจ้งผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงให้เจ้าหน้าที่ทราบเพื่อเชิญผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเข้ารับการอบรม
1.3 ผลการประเมินทดสอบสมรรถภาพผู้สูงอายุที่ต้องเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คนมีดังนี้ - Time up and go Test ใช้เวลา ≥ 10 sec มีความเสี่ยง จำนวน 33 ราย ( ปกติ≤10sec ) - Five time sit to stand test ใช้เวลา ≥ 12 sec มีความเสี่ยง จำนวน 37 ราย ( ปกติ≤12sec ) 2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง 2.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเสี่ยง จำนวน 70 คน ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับสรีระวิทยากับการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ การป้องกันการพลัดตกหกล้ม และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายแบบไทเก๊ก พร้อมแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4 ฐาน ได้แก่  ฐานเรียนรู้..เรื่องยาและประเมินการใช้ยาในผู้สูงอายุ ฐานเรียนรู้..เรื่องกายบริหารเพิ่มความแข็งแรงกล้ามเนื้อ ฐานเรียนรู้...เรื่องสภาพแวดล้อมในบ้านที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม และฐานเรียนรู้...เรื่องการทรงตัวและการใช้อุปกรณ์ช่วยเดินป้องกันการพลัดตกหกล้ม โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2564 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง
2. มีการประเมินก่อน-หลังให้ความรู้ผู้เข้าร่วมอบรม ผลการประเมินมีดังนี้ - ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 62 ชุด  พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้รับ คะแนนสูงสุดอยู่ช่วงคะแนน 11-15 คะแนน มีจำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 45.16 รองลงมาคือช่วงคะแนน 6-10 คะแนน มีจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 35.48 และช่วงคะแนน 1-5 คะแนน มีจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 19.36 - หลังการอบรม  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 62 ชุด  พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้รับ คะแนนสูงสุดอยู่ช่วงคะแนน 11-15 คะแนน มีจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 48.39 รองลงมาคือช่วงคะแนน 6-10 คะแนน มีจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 35.48 และช่วงคะแนน 1-5 คะแนน มีจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 16.13 3. การประเมินความพึงพอใจโครงการฯ จากผู้ประเมิน 60 คนที่เข้ารับการอบรมวันที่ 18 มีนาคม 2564 โดยค่าเฉลี่ย (X ̅) ตามหัวข้อประเมินดังนี้ 1. ภาพรวมของโครงการ ค่าเฉลี่ย (X ̅) 4.30 อยู่ในระดับมากที่สุด 2. วิทยากรถ่ายทอดความรู้และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน ค่าเฉลี่ย (X ̅) 4.38 อยู่ในระดับมากที่สุด 3. เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม ค่าเฉลี่ย (X ̅) 4.40  อยู่ในระดับมากที่สุด 4. มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม ค่าเฉลี่ย (X ̅) 4.21 อยู่ในระดับมาก 5. สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ค่าเฉลี่ย (X ̅) 4.17 อยู่ในระดับมาก 6. สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด ค่าเฉลี่ย (X ̅) 4.19 อยู่ในระดับมาก 7. สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ ค่าเฉลี่ย (X ̅) 4.25 อยู่ในระดับมากที่สุด 8. ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด ค่าเฉลี่ย (X ̅) 4.38 อยู่ในระดับมากที่สุด 9. สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ย (X ̅) 4.28 อยู่ในระดับมากที่สุด 3. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ทบทวนความรู้ในเรื่องต่างๆของการป้องกันความเสี่ยงพลัดตกหกล้ม ประเมินสภาพแวดล้อมที่บ้าน แนะแนวทางพร้อมร่วมแก้ไขปัญหาสภาพแวดล้อมที่บ้านลดเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม จำนวน 11 ราย 4. ปรับปรุงสภาพแวดล้อม โดยการเพิ่ม/ปรับเปลี่ยนหลอดไฟ เพื่อเพิ่มแสงสว่างในบริเวณ ที่มีความเสี่ยงที่ทำให้ผู้สูงอายุพลัดตกหกล้ม จำนวน 8 ราย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง สามารถปฏิบัติตัวในเรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุเขตเทศบาลเมืองกันตัง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 70 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง สามารถปฏิบัติตัวในเรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้ม (2) เพื่อลดอัตราการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุเขตเทศบาลเมืองกันตัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (3) กิจกรรมลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้าน/ประเมิน/แก้ไขสภาพแวดล้อม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลพลัดตกหกล้ม ปี 2564 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L6895-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด