กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายโชคชัย ทิพย์รองพล

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2564 – L8010 – 2 -01 เลขที่ข้อตกลง 06/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ



บทคัดย่อ

โรงเรียนบ้านตูแตหรำ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ เพื่อพัฒนาสุขภาพกายให้แข็งแรงเหมาะสมกับวัย ส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนในส่วนต่างๆให้ดียิ่งขึ้น นักเรียนยังได้รู้จักดูแลตนเองเฝ้าระวัง ป้องกัน เกี่ยวกับโรคติดต่อ โรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ และป้องกันตนเองจากยาเสพติด ผลการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ เพื่อพัฒนาส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียน การเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากโรคโควิด-๑๙ และรณรงค์เกี่ยวกับปัญหายาเสพติด บรรลุตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด ดังนี้
๑. นักเรียนทุกคนมีผลการประเมินความฉลาดทางอารมณ์ในระดับปกติ ร้อยละ ๗๓.๘๔ นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
๒. นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ๓. นักเรียนทุกคนไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด จากการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำได้รับผลการพัฒนาที่ดีขึ้นในการดูแลสุขภาพกาย และสุขภาพจิตของนักเรียน จึงส่งผลให้การเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้นด้วย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต ของนักเรียนนั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งเพราะจะช่วยให้นักเรียน มีสุขภาพกายและจิตใจที่แข็งแรง รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า การส่งเสริมให้นักเรียน เข้าใจการดูแลสุขภาพให้ปลอดจากโรคติดต่อ ด้วยการฝึกอบรม ให้มีความรู้และสามารถแนะนำบุคคลในครอบครัวได้ ส่งผลให้สมาชิกในครอบครัวมีความรักความผูกพันอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข

จากผลการประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กนักเรียนในวัย ๖-๑๑ ปีของโรงเรียนบ้านตูแตหรำ พบว่า ร้อยละ ๔๕ ของนักเรียนมีผลการประเมินมีระดับคะแนนในช่วง SDQ ๔๐-๔๙ เด็กควรได้รับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ในส่วนต่าง ๆ ไปได้ดียิ่งขึ้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์เพื่อให้สามารถเรียนรู้กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และนอกจากนี้ปัจจุบันภัยใกล้ตัว เช่น ปัญหาสิ่งเสพติดโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงหรือมีโอกาสสูง ในการมั่วสุ่มกับสิ่งเสพติด และปัญหาโรคติดต่อโควิด-19 ที่เกิดการระบาดในช่วงต้นปีที่ผ่านมา ซึ่งโรคดังกล่าวเกิดขึ้นจากแรงงานในหมู่บ้านที่ไปทำงานต่างประเทศและแรงงานต่างด้าวที่มาทำงานในหมู่บ้านตูแตหรำ และสิ่งเสพติดที่เกิดในหมู่บ้านอันเนื่องจากเยาวชนในหมู่บ้านไม่ค่อยได้รับการส่งเสริมการเรียนที่สูง ทำให้เยาวชนบางส่วนในหมู่บ้านไปยุ่งเกี่ยวกับสิ่งเสพติด ส่งผลกระทบต่อประชากรทั่วโลกและประเทศไทย จำเป็นจะต้องมีมาตรการในการป้องกันเชื้อโรคโควิดและสิ่งเสพติด เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดในวงกว้าง

ซึ่งโรงเรียนบ้านตูแตหรำได้ตระหนักและให้ความสำคัญของสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียน จึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ เพื่อพัฒนาส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียน และเฝ้าระวัง ป้องกันเกี่ยวกับโรคโควิด-19 และรณรงค์ป้องกันเกี่ยวกับปัญหาสิ่งยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ไข ส่งเสริมให้นักเรียนมีความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มขึ้น
  2. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกายที่ดีห่างไกลโรคและสิ่งเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เฝ้าระวังเรื่องโรคโควิด-๑๙
  2. ส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ให้กับนักเรียน
  3. เฝ้าระวังยาเสพติด
  4. รายงานผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 78
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
บุคลากรทางการศึกษา 14
ผู้ปกครอง 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนที่มีปัญหาความฉลาดทางอารมณ์ได้รับการส่งเสริมพัฒนาอยู่ในระดับปกติ

  2. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงห่างไกลโรคและไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ให้กับนักเรียน

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประสานงานหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นวิทยากร
  2. ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้ โดยวิทยากร ตามเนื้อดังนี้
    • ความสำคัญของ EQ และ IQ
    • การนำ EQ และ IQ มาใช้ในชีวิตประจำวัน
    • การฝึกทักษะการคิดเชิงบวก
    • การแบ่งกลุ่มเพื่อทดลองวิเคราะห์ปัญหาของนักเรียน และนำเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
  3. จัดกิจกรรมพัฒนาส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ จำนวน ๑๐ ครั้ง
  4. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
  5. ทำแบบประเมินก่อนและหลังอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กิจกรรมจัดอบรมนักเรียนระดับประถมศึกษาด้านความฉลาดทางอารมณ์
    กิจกรรมจัดอบรม ประชุม นักเรียนระดับประถมศึกษาด้านความฉลาดทางอารมณ์ โดยมีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ เข้าร่วมจำนวน ๗๙ คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน ๑๔ คน ร้อยละ ๙๒.๑๓ ของนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในการแสดงออกทางอารมณ์ของตนเอง
  2. กิจกรรมพัฒนาส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ จำนวน 10 ครั้ง โดยกิจกรรมพัฒนาหลัก ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านดี ด้านเก่ง และด้านสุข
    การจัดกิจกรรมให้กับนักเรียนเพื่อส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ ได้แก่ กิจกรรมด้านดี ด้านเก่ง และด้านสุข พบว่านักเรียนมีสภาวะทางด้านอารมณ์ ดังนี้

2.1 ด้านดี วิเคราะห์ผลจาก การควบคุมอารมณ์ตนเอง การเห็นใจผู้อื่น และความรับผิดชอบ
- นักเรียนสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๖๕.๘๒ ต่ำกว่าปกติ ร้อยละ ๑๓.๙๒ และสูงกว่าปกติ ร้อยละ ๒๐.๒๕ ของนักเรียนทั้งหมด
- นักเรียนมีความเห็นใจผู้อื่นในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๗๕.๙๕ ต่ำกว่าปกติ ร้อยละ ๒๑.๕๒ และสูงกว่าปกติ ร้อยละ ๒.๕๓ ของนักเรียนทั้งหมด
- นักเรียนมีความรับผิดชอบในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๗๘.๔๘ ต่ำกว่าปกติ ร้อยละ ๑๗.๗๒ และสูงกว่าปกติ ร้อยละ ๕.๐๖ ของนักเรียนทั้งหมด
2.2 ด้านเก่ง วิเคราะห์ผลจาก การมีแรงจูงใจ การตัดสินใจแก้ปัญหา และมีสัมพันธภาพที่ดี
- นักเรียนสามารถสร้างแรงจูงใจในสภาวปกติได้ ร้อยละ ๗๒.๑๕ ต่ำกว่าปกติ ร้อยละ ๒๕.๓๒ และสูงกว่าปกติ ร้อยละ ๒.๕๓ ของนักเรียนทั้งหมด
- นักเรียนสามารถตัดสินใจแก้ปัญหาในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๗๘.๔๘ ต่ำกว่าปกติ ร้อยละ ๒๐.๒๕ และสูงกว่าปกติ ร้อยละ ๑.๒๗ ของนักเรียนทั้งหมด
- นักเรียนสามารถสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่นในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๖๐.๙๖ ต่ำกว่าปกติ ร้อยละ ๓๒.๙๑ และสูงกว่าปกติ ร้อยละ ๒.๕๓ ของนักเรียนทั้งหมด
2.3 ด้านสุข วิเคราะห์ผลจาก ความภูมิใจในตนเอง พอใจในชีวิต และมีความสุขสงบทางใจ
- นักเรียนสามารถสร้างความภูมิใจในตนเองในสภาวะปกติได้ ร้อยะล 86.08 ต่ำกว่าปกติ ร้อยละ 8.86 และสูงกว่าปกติ ร้อยละ 5.06 ของนักเรียนทั้งหมด
- นักเรียนสามารถมีความพอใจชีวิตตนเองในสภาวะปกติได้ ร้อยละ 69.62 ต่ำกว่าปกติ ร้อยละ 24.05 และสูงกว่าปกติ ร้อยละ 6.33 ของนักเรียนทั้งหมด
- นักเรียนสามารถสร้างความสุขสงบทางใจในสภาวะปกติได้ ร้อยละ 77.22 ต่ำกว่าปกติ ร้อยละ 21.52 และสูงกว่าปกติ ร้อยละ 1.27 ของนักเรียนทั้งหมด

 

0 0

2. เฝ้าระวังเรื่องโรคโควิด-๑๙

วันที่ 7 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

การป้องกันโรคติดต่อโรคโควิด-๑๙
  - จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-๑๙
  - ปฏิบัติการทำหน้ากากอนามัย
  - ปฏิบัติการทำเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ
  - ประเมินผลกิจกรรมก่อนและหลังอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการอบรมนักเรียนให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 โดยวิทยากรทางด้านสาธารณสุข ทำให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตัวเอง และสังคม จากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นมาตรการที่ประชาชนทุกคนควรทำและให้ความร่วมมือ เพื่อช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงในการเกิดโรค จากการอบรมของวิทยากรให้กับนักเรียน สามารถปฏิบัติตามหลัก Social Distancing การเว้นระยะห่างทางสังคม โดยปฏิบัติดังนี้
1. พักอยู่บ้าน หากรู้สึก ไม่สบาย 2. เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย ๑-๒ เมตร
3. เลียงการจับมือ และไม่ไปในสถานที่แออัด
4. หมั่นล้างมือให้สะอาด ด้วยน้ำสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจลล้างมือ
5. เฝ้าระวังตัวเอง สวกหน้ากากอนามัย สังเกตอาการของตัวเอง

การทำหน้ากากอนามัย
การแพร่ระบาดรุนแรงของโรคโควิด-๑๙ ได้ระบาดอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้หน้ากากาอนามัยไม่เพียงพอต่อท้องตลาด ทางโรงเรียนจึงจัดกิจกรรมการทำหน้ากากาขึ้นให้กับนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ -๖ โดยมีการให้ความรู้จากวิทยากรมาสอนทำหน้ากากให้กับนักเรียนแบ่งเป็นกลุ่มๆย่อย มีผู้ปกครองนักเรียนร่วมทำหน้ากากกับนักเรียน คนละ ๑ ชิ้น นักเรียนร้อยละ 80 สามารถทำหน้ากากได้ด้วยตนเอง นักเรียนบางส่วน ร้อยละ 20 ทำหน้ากากไม่เสร็จ เพราะเป็นนักเรียนช่วงชั้นต้น โดยภาพรวมนักเรียนส่วนใหญ่ ทำหน้ากากได้ด้วยตนเอง และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อป้องกันโรคโควิด-๑๙

การทำเจลแอลกอฮอล์
นักเรียน ครู และผู้ปกครอง ได้เรียนรู้วิธีการผลิตเจลแอลลกอฮอล์ สำหรับล้างมือที่ใช้ทำความสะอาดในชีวิตประจำวัน ร้อยละ 90 นักเรียนและผู้ปกครองมีความพึงพอใจเป็นอันมาก เนื่องจากได้รู้เรียนรู้ถึงวัสดุ และขั้นตอนการทำเจลแอลกอฮอล์ และได้ลงมือทำ สร้างความสามัคคีในกลุ่ม เนื่องจากเจลแอลกอฮอล์สะดวกในการล้างมือ ที่สำคัญปลอดภัยต่อเชื้อโควิด 19 ช่วยลดความเสี่ยงจากการรับเชื้อโรคที่มือไปสัมผัสโดนโดยไม่รู้ตัว ซึ่งอาจทำให้เชื้อเข้าสู่ร่างกายและนำไปสู่การเกิดโรคได้ในภายหลัง

 

0 0

3. เฝ้าระวังยาเสพติด

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

การป้องกันด้านยาเสพติด
  - จัดอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งเสพติด และแบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อทำกิจกรรมเกี่ยวกับยาเสพติด
  - จัดทำป้าย โปสเตอร์ อุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด
  - เดินรณรงค์ต่อต้านสิ่งเสพติด
  - ประเมินผลกิจกรรมก่อนและหลังอบรบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การจัดอบรมยาเสพติดให้ความรู้กับนักเรียนให้รูปแบบออนไลน์ เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จัดขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับยาเสพติด และป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากสารเสพติด และพฤติกรรมการเลียนแบบ การอบรมนี้ได้เชิญวิทยากรเจ้าหน้าที่ตำรวจมาให้ความรู้กับนักเรียนในรูปแบบออนไลน์ ทำให้นักเรียนมีความสนใจ และตื่นเต้นมากในการทำกิจกรรม ร้อยละ๙๐ ของนักเรียนประถมศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมนี้ และมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดมากขึ้น

 

0 0

4. รายงานผลโครงการ

วันที่ 25 มกราคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำเอกสารนำเสนอโครงการ จำนวน ๒ ครั้ง
  2. จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ให้กับนักเรียน
1. นักเรียนร้อยละ ๙๒.๑๓ มีความรู้ ความเข้าใจในการแสดงออกทางอารมณ์ของตนเอง
2. นักเรียนทุกคนมีผลการประเมินความฉลาดทางอารมณ์ในระดับปกติ ร้อยละ ๗๓.๘๔
3. นักเรียนทุกคนได้มีการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ ด้วยกิจกรรม ด้านดี ด้านเก่ง และด้านสุข พบว่า
- นักเรียนสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๖๕.๘๒
- นักเรียนมีความเห็นใจผู้อื่นในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๗๕.๙๕
- นักเรียนมีความรับผิดชอบในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๗๘.๔๘
- นักเรียนสามารถสร้างแรงจูงใจในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๗๒.๑๕
- นักเรียนสามารถตัดสินใจแก้ปัญหาในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๗๘.๔๘
- นักเรียนสามารถสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่นในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๖๐.๗๖
- นักเรียนสามารถสร้างความภูมิใจในตนเองในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๘๖.๐๘
- นักเรียนสามารถมีความพอใจชีวิตตนเองในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๖๙.๖๒
- นักเรียนสามารถสร้างความสุขสงบทางใจในสภาวะปกติได้ ร้อยละ ๗๗.๒๒
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเฝ้าระวังและป้องกัน
๒.๑ ป้องกันโรคติดต่อโรคโควิด-๑๙
กิจกรรมจัดอบรมนักเรียนให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-๑๙ โดยวิทยากรทางด้านสาธารณสุข โดยมีนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เข้าร่วมจำนวน ๑๐๖ คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน ๑๔ คน และผู้ปกครอง จำนวน ๕- คน พบว่า นักเรียนและผู้ปกครอง ร้อยละ ๘๐ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-๑๙ และรู้จักดูแล ป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ได้ และผู้เข้าร่วมอบรมมี ความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยร้อยละ ๙· จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ ในหมู่ที่ ๑๒ บ้านตูแตหรำ พบผู้ติดเชื้อทั้งหมด ๒๗ ราย เป็นนักเรียน จำนวน ๑๑ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๙๒ ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน ๑๖ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๒๕ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ
๒.๒ ป้องกันด้านยาเสพติด
กิจกรรมจัดอบรมนักเรียนให้มีความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด โดยวิทยากรเจ้าหน้าที่ตำรวจ ในรูปแบบออนไลน์ ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ โดยมีนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ - เข้าร่วมจำนวน ๑๑๖ คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน ๑๔ คน และผู้ปกครอง จำนวน ๕๐ คน พบว่า นักเรียน ครู และผู้ปกครอง ร้อยละ ๙0 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด และรู้จักดูแล ป้องกันตนเองจากยาเสพติดได้ นักเรียนร้อยละ ๑๐0 ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจในการจัดอบรมแบบออนไลน์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ ๘๐

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ไข ส่งเสริมให้นักเรียนมีความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนทุกคนมีผลการประเมินความฉลาดทางอารมณ์ในระดับ ร้อยละ ๕๐ ขึ้นไป 2. นักเรียน ทุกคนได้รับการพัฒนาส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์และสามารถอยู่กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 3. นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์
80.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกายที่ดีห่างไกลโรคและสิ่งเสพติด
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนทุกคนไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด 2. นักเรียนและผู้ปกครองสามารถป้องกันตนเองและปลอดภัยจากโรคไวรัสโคน่า ๒๐๑๙ และสิ่งเสพติด 3. นักเรียนและผู้ปกครอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อโควิด-19 และการห้องกันตนเองจากยาเสพติด
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 142 142
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 78 78
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
บุคลากรทางการศึกษา 14 14
ผู้ปกครอง 50 50

บทคัดย่อ*

โรงเรียนบ้านตูแตหรำ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ เพื่อพัฒนาสุขภาพกายให้แข็งแรงเหมาะสมกับวัย ส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนในส่วนต่างๆให้ดียิ่งขึ้น นักเรียนยังได้รู้จักดูแลตนเองเฝ้าระวัง ป้องกัน เกี่ยวกับโรคติดต่อ โรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ และป้องกันตนเองจากยาเสพติด ผลการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ เพื่อพัฒนาส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียน การเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากโรคโควิด-๑๙ และรณรงค์เกี่ยวกับปัญหายาเสพติด บรรลุตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด ดังนี้
๑. นักเรียนทุกคนมีผลการประเมินความฉลาดทางอารมณ์ในระดับปกติ ร้อยละ ๗๓.๘๔ นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
๒. นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ๓. นักเรียนทุกคนไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด จากการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำได้รับผลการพัฒนาที่ดีขึ้นในการดูแลสุขภาพกาย และสุขภาพจิตของนักเรียน จึงส่งผลให้การเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้นด้วย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

๑. ห้องประชุมในการทำกิจกรรมเล็กเกินไป
๒.นักเรียนบางคนทำกิจกรรมไม่ทันตามเวลาที่กำหนด
๓. ระยะเวลาในการอบรมน้อยเกินไป
๔. บางกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙

 

๑. อยากให้จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นการพัฒนานักเรียนได้ดี ให้เป็นคนเก่ง ดี มีสุข
๒. อยากให้นำนักเรียนไปทำกิจกรรมนอกสถานที่
ต. ควรแยกการอบรมแต่ละกิจกรรมให้อยู่คนละวัน เพื่อนักเรียนจะได้ทำกิจกรรมได้มากขึ้น


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ

รหัสโครงการ 2564 – L8010 – 2 -01 รหัสสัญญา 06/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2564 – L8010 – 2 -01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายโชคชัย ทิพย์รองพล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด