กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการชุมชนละอาด มลภาวะดี ห่างไกลโรค ด้วยมือเรา หมู่ที่ 1 บ้านท่าชะมวง ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางกลิ่น แซ่เบ้

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนละอาด มลภาวะดี ห่างไกลโรค ด้วยมือเรา หมู่ที่ 1 บ้านท่าชะมวง ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5313-02-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนละอาด มลภาวะดี ห่างไกลโรค ด้วยมือเรา หมู่ที่ 1 บ้านท่าชะมวง ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนละอาด มลภาวะดี ห่างไกลโรค ด้วยมือเรา หมู่ที่ 1 บ้านท่าชะมวง ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนละอาด มลภาวะดี ห่างไกลโรค ด้วยมือเรา หมู่ที่ 1 บ้านท่าชะมวง ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5313-02-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านท่าชะมวงได้ประสบปัญหาเกี่ยวกับการจัดการขยะ เนื่องจากปัจจุบันมีความเติบโตทางเศรษฐกิจและค่านิยมของประชาชนในพื้นที่การซื้ออาหารจากตลาดหรืออาหารเพื่อบริโภคมากกว่าผลิตเองอีกทั้งประชาชนยังขาดจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะในด้านการจัดการขยะมูลฝอยซึ่งถ้าไม่มีการจัดการขยะที่ดีจะทำให้เกิดมลพิษเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคสามารถส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งทางกายและทางจิตใจได้เพราะเมื่อใดก็ตามทีมีการจัดการขยะไม่ดีเช่นไม่ทิ้งขยะลงถังขยะทิ้งขยะลงในที่สาธารณะต่างๆไม่ได้คัดแยกขยะอันตรายเช่น (ถ่านไฟฉายหลอดไฟสารเคมียาหมดอายุฯ)ออกจากขยะทั่วไปทิ้งขยะอันตรายปะปนไปกับขยะทั่วไปเผาขยะในที่โล่งแจ้งฝังกลบขยะอย่างไม่ถูกวิธีเป็นต้นมลพิษจากขยะก็จะปนเปื้อนลงสู่สิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชนได้
จากการสำรวจข้อมูลปัญหาขยะบ้านท่าชะมวงเบื้องต้น ซึ่งมีครัวเรือนทั้งหมด553ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด 2,500 คน พบว่าในแต่ละครัวเรือนมีปริมาณขยะเฉลี่ยประมาณ 90 กิโลกรัม/เดือน สภาพปัญหาการจัดการขยะ คือครัวเรือนไม่มีการคัดแยกขยะ ในถังขยะใบเดียวจะประกอบไปด้วยขยะทั่วไปขยะอันตรายและขยะรีไซเคิลมีการทิ้งขยะสองข้างทางไม่มีการจัดเก็บเมื่อฝนตกน้ำขังก่อให้เกิดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคไข้เลือดออกได้ ดังนั้นชุมชนจึงตระหนักถึงสถานการณ์ปัญหาขยะที่เกิดขึ้น และมีความประสงค์ที่จะดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาขยะในระดับครัวเรือนและชุมชน จึงได้เสนอโครงการชุมชนสะอาด มลภาวะดี ห่างไกลโรค ด้วยมือเรา หมู่ที่ 1 บ้านท่าชะมวง ตำบลละงู โดยเน้นการสร้างการมีส่วนร่วมจากคนในชุมชนมุ่งหวังให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหา วางแผนการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหามุ่งเน้นการจัดการขยะ ในครัวเรือน/ชุมชนอย่างถูกวิธี ทั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนได้ประโยชน์สูงสุดจากการคัดแยกขยะส่งผลให้ปริมาณขยะในชุมชนลดลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะที่ ส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งทางกายและทางจิตใจ
  2. 2.เพื่อให้เกิดครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะและพัฒนาฐานข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 3.กิจกรรม จัดประชุมคืนข้อมูลและพัฒนาศักยภาพครัวเรือนนำร่อง 40ครัวเรือน เรื่องการคัดแยกขยะ การใช้ประโยชน์จากขยะแต่ละประเภท เรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ ให้ความรู้เรื่องโรคที่มากับขยะ และร่วมกำหนดกติกาการจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน
  2. 4.กิจกรรม ปฏิบัติการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะในครัวเรือนนำร่องจำนวน 40 ครัวเรือน
  3. 5.กิจกรรม คณะทำงานติดตามเยี่ยมเสริมพลัง สร้างแรงจูงใจในการจัดการขยะในครัวเรือน 40 ครัวเรือน โดยคณะทำงานติดตามจำนวน 10 คน
  4. 6.กิจกรรม ปฏิบัติการร่วมกันเก็บขยะสองข้างทางในชุมชนบ้านท่าชะมวง เดือนละ 1 ครั้งจำนวน 3 ครั้ง โดยผู้แทนคณะทำงานสีดส่วนอาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน 30 คน
  5. 7.กิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปบทเรียนการดำเนินงานเพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างคณะทำงาน แกนนำและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการทำงานหลังสิ้นสุดโครงการ จำนวน 40 คน
  6. 1.กิจกรรม จัดประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น ตัวแทนผู้นำศาสนา แกนนำ อสม.จำนวน 40 คน เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน ชี้แจงบทบาทการเป็นครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะพื้นที่ ม.1 บ้านท่าชะมวง โดยให้แต่ละครัวเรือนสำร
  7. 2. กิจกรรม ประชุมสังเคราะห์ข้อมูลโดยตัวแทนคณะทำงานวิชาการ จำนวน 10 คน เพื่อให้ได้ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะและการคัดแยกของครัวเรือนนำร่องจำนวน 40 ครัวเรือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครัวเรือนนำร่องมีความรู้ความเข้าใจและสามารถ จัดการขยะมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิดตามหลัก 3r ประกอบด้วย Reduce การลดใช้ reuse การใช้ซ้ำ รีไซเคิลการนำกลับมาใช้ใหม่
  2. เกิดครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะและมีฐานข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในชุมชน
  3. อัตราการป่วยจากโรคติดต่อลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะที่ ส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งทางกายและทางจิตใจ
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 90 ของครัวเรือนนำร่องมีความรู้ความเข้าใจและสามารถ จัดการขยะมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิดตามหลัก 3r ประกอบด้วย Reduce การลดใช้ reuse การใช้ซ้ำ รีไซเคิลการนำกลับมาใช้ใหม่
0.00

 

2 2.เพื่อให้เกิดครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะและพัฒนาฐานข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดครัวเรือนต้นแบบและมีฐานข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะบ้านท่าชะมวงร้อยละ 90
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะที่ ส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งทางกายและทางจิตใจ (2) 2.เพื่อให้เกิดครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะและพัฒนาฐานข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3.กิจกรรม จัดประชุมคืนข้อมูลและพัฒนาศักยภาพครัวเรือนนำร่อง 40ครัวเรือน เรื่องการคัดแยกขยะ การใช้ประโยชน์จากขยะแต่ละประเภท เรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ ให้ความรู้เรื่องโรคที่มากับขยะ และร่วมกำหนดกติกาการจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน (2) 4.กิจกรรม ปฏิบัติการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะในครัวเรือนนำร่องจำนวน 40 ครัวเรือน (3) 5.กิจกรรม คณะทำงานติดตามเยี่ยมเสริมพลัง สร้างแรงจูงใจในการจัดการขยะในครัวเรือน 40 ครัวเรือน โดยคณะทำงานติดตามจำนวน 10 คน (4) 6.กิจกรรม ปฏิบัติการร่วมกันเก็บขยะสองข้างทางในชุมชนบ้านท่าชะมวง เดือนละ 1 ครั้งจำนวน 3 ครั้ง โดยผู้แทนคณะทำงานสีดส่วนอาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน 30 คน (5) 7.กิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปบทเรียนการดำเนินงานเพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างคณะทำงาน แกนนำและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการทำงานหลังสิ้นสุดโครงการ จำนวน 40 คน (6) 1.กิจกรรม จัดประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น ตัวแทนผู้นำศาสนา แกนนำ อสม.จำนวน 40 คน เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน ชี้แจงบทบาทการเป็นครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะพื้นที่ ม.1 บ้านท่าชะมวง โดยให้แต่ละครัวเรือนสำร (7) 2. กิจกรรม ประชุมสังเคราะห์ข้อมูลโดยตัวแทนคณะทำงานวิชาการ จำนวน 10 คน เพื่อให้ได้ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะและการคัดแยกของครัวเรือนนำร่องจำนวน 40 ครัวเรือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนละอาด มลภาวะดี ห่างไกลโรค ด้วยมือเรา หมู่ที่ 1 บ้านท่าชะมวง ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5313-02-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกลิ่น แซ่เบ้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด