โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563 ”
พื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางดารุณี มากแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต
สิงหาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563
ที่อยู่ พื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 82,790.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้สภาพปัญหาทางสุขภาพเปลี่ยนไปด้วย ปัจจุบันแนวโน้มปัญหาสุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้นจากสาเหตุโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเหล่านี้เป็นปัญหาที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลก ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นสถานการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การอนามัยโลก(WHO) รายงานว่า ในปี 2552 ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีจำนวน 108 ล้านคน เพิ่มขึ้นเป็น 422 ล้านคน ในปี 2557 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน 1.5 ล้านคน นอกจากนี้ ยังพบว่าประชากรทั่วโลกที่มีอายุ 18 ขึ้นไป ป่วยด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.7 เป็นร้อยละ 8.5 หรือเมื่อเปรียบเทียบแล้ว พบว่า ปัจจุบันประชากรวัยผู้ใหญ่ 1 ใน 11 คนป่วยเป็นโรคเบาหวาน ส่วนในประเทศไทย จากรายงานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราตายด้วยโรคเบาหวานต่อประชากรแสนคน ในภาพรวมของประเทศในปี 2556 - 2558 เท่ากับ 14.93, 17.53 และ 17.83 ตามลำดับ เห็นได้ว่า อัตราการตายด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปี และจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกายในประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ครั้งที่ 3, 4 และ 5 (ปี 2547, 2552 และ 2557) พบว่า ความชุกของโรคเบาหวาน ของครั้งที่ 3 ร้อยละ 7 ใกล้เคียงกับครั้งที่ 4 ร้อยละ 6.9 ส่วนครั้งที่ 5 เพิ่มสูงขึ้นเป็นร้อยละ 8.8 (คิดเป็น4.8ล้านคน)นอกจากนี้ ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติปี 2551 ยังพบว่าประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอกในการรักษาพยาบาลโรคเบาหวานเฉลี่ย 1,172 บาทต่อราย ส่วนผู้ป่วยในค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเฉลี่ย 10,217 บาทต่อราย รวมค่ารักษาพยาบาลทั้งสิ้น 3,984 ล้านบาทต่อปี หากคนไทยป่วยด้วยโรคเบาหวาน รวม 3 ล้านคนต่อปี
จังหวัดพัทลุงมีอัตราตายของผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 3.95 ต่ำกว่าในระดับประเทศ อำเภอควนขนุนมีอัตราตาย ร้อยละ 4.39 และ มีแนวโน้มผู้ป่วยโรคเบาหวานสูงขึ้นทุกๆปี จากสถิติตั้งแต่ 2558 – 2560 ความชุกของผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นดังนี้ 4.615, 5158, 5,483 ต่อแสนประชากร ตามลำดับตามลำดับ ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.ปันแต ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน จากปี2560 –2562อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ปี 2560-2562 จำนวน 584.89,327.71,471.09ต่อแสนประชากร อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ปี 2560-2562 จำนวน 747.36, 1101.93, 1182.57 ต่อแสนประชากร ตามลำดับการที่มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประเทศชาติสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพ ให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วยดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วย แนวทางการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดเป็นโรคแล้วจึงเป็นทางเลือกที่ดี การป้องกันและควบคุมโรคซึ่งสามารถกระทำได้ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 90 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองร้อยละ 40 3.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ร้อยละ 50 5. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 6.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ร้อยละ 70
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป
- กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน
- ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้
- กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
2,750
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน
และความดันได้
2 ลดอัตราการเกิดเบาหวานรายใหม่
3 กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.
4 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL) ได้รับการเจาะFBS ซ้ำเพื่อติดตามผล
5. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
6. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาล-ความดันโลหิตไม่ได้ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น
7.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าตามเกณฑ์มาตรฐานได้รับการส่งต่อในรายที่พบภาวะผิดปกติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค
วันที่ 4 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส
50
0
2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้
วันที่ 11 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ปีงบประมาณ 2562 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 298 คน ได้รับการตรวจจำนวน 266 คน ควบคุมน้ำตาลได้ดี จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 18.46
ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ปีงบประมาณ 2563 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 311 คน ได้รับการตรวจจำนวน 253 คน ควบคุมน้ำตาลได้ดี จำนวน 100คน คิดเป็นร้อยละ 32.15
สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2562 ร้อยละ 13.69
-ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ปีงบประมาณ 2562 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 702 คน ระดับความดันโลหิตได้ดี จำนวน 331 คน คิดเป็นร้อยละ 47.15
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ปีงบประมาณ 2563 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 734 คน ระดับความดันโลหิตได้ดี จำนวน 365 คน คิดเป็นร้อยละ 49.73
สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2562 ร้อยละ 2.58
298
0
3. กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
วันที่ 13 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประเมินจากแบบทดสอบการอบรม ก่อน-หลัง มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 92
117
0
4. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน
วันที่ 18 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 311 คน
ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า จำนวน 264 คน คิดเป็นร้อยละ 84.89
ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน
และความดันได้
311
0
5. 1. กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป
วันที่ 28 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
คัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี
ขึ้นไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
กลุ่มเป้าหมายจำนวน 1,967 คน ได้รับการคัดกรอง จำนวน 1,874 คน คิดเป็นร้อยละ 95.27
กลุ่มปกติ จำนวน 1,541 คน คิดเป็นร้อยละ 82.23
กลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 6.40
กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 197 คน คิดเป็นร้อยละ 10.51
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงราย จำนวน 11 คน
คิดเป็นร้อยละ 0.59
คัดกรองโรคเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2,342 คน ได้รับการคัดกรอง จำนวน 2,246 คน คิดเป็นร้อยละ 95.90
กลุ่มปกติ จำนวน 1,838 คน คิดเป็นร้อยละ 81.83
กลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน 334 คน คิดเป็นร้อยละ 14.87
กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 3.07
ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.22
1,967
0
6. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน
วันที่ 28 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 234 คน ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จำนวน 202 คน คิดเป็นร้อยละ 86.32
- เครื่องวัดความดันอัตโนมัติ จำนวน 13 หมู่บ้าน x จำนวน 13 เครื่อง x 3,500 บาท เป็นเงิน 45,500 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารแบบฟอร์มวัดความดันที่บ้าน จำนวน 150 แผ่น x
0.50 บาท เป็นเงิน 75 บาท
234
0
7. ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
วันที่ 28 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
409
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน
-ประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป
คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
กลุ่มเป้าหมายจำนวน 1,967 คน ได้รับการคัดกรอง จำนวน 1,874 คน คิดเป็นร้อยละ 95.27
กลุ่มปกติ จำนวน 1,541 คน คิดเป็นร้อยละ 82.23
กลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 6.40
กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 197 คน คิดเป็นร้อยละ 10.51
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงราย จำนวน 11 คน
คิดเป็นร้อยละ 0.59
คัดกรองโรคเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2,342 คน ได้รับการคัดกรอง จำนวน 2,246 คน คิดเป็นร้อยละ 95.90
กลุ่มปกติ จำนวน 1,838 คน คิดเป็นร้อยละ 81.83
กลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน 334 คน คิดเป็นร้อยละ 14.87
กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 3.07
ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.22
-ประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กลุ่มเสี่ยงจำนวน 409 คน ได้รับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 394 คน คิดเป็นร้อยละ 96.33
-อัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 234 คน ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จำนวน 202 คน คิดเป็นร้อยละ 86.32
-ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ปีงบประมาณ 2562 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 298 คน ได้รับการตรวจจำนวน 266 คน ควบคุมน้ำตาลได้ดี จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 18.46
ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ปีงบประมาณ 2563 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 311 คน ได้รับการตรวจจำนวน 253 คน ควบคุมน้ำตาลได้ดี จำนวน 100คน คิดเป็นร้อยละ 32.15
สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2562 ร้อยละ 13.69
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ปีงบประมาณ 2562 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 702 คน ระดับความดันโลหิตได้ดี จำนวน 331 คน คิดเป็นร้อยละ 47.15
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ปีงบประมาณ 2563 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 734 คน ระดับความดันโลหิตได้ดี จำนวน 365 คน คิดเป็นร้อยละ 49.73
สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2562 ร้อยละ 2.58
-อสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประเมินจากแบบทดสอบการอบรม ก่อน-หลัง มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 92
-จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 311 คน
ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า จำนวน 264 คน คิดเป็นร้อยละ 84.89
3. ระยะเวลาดำเนินการ
1. คัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป เดือนมิถุนายน 2563
2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค
เดือนสิงหาคม 2563
3. ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เดือนกรกฎาคม 2563 –สิงหาคม 2563
4. ติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน
เดือนมิถุนายน 2563 –เดือนสิงหาคม 2563
5. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ เดือนสิงหาคม 2563
6. กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
เดือนสิงหาคม 2563
7. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต เดือนสิงหาคม 2563
4. สถานที่ดำเนินการ
1. คัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป
พื้นที่หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
3.ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
4. ติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน พื้นที่หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
5.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
6.กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
7.กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
5. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 82,790 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 82,790 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท คิดเป็นร้อยละ
รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้
1. กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไปรวมเป็นเงิน 24,525 บาท
- ค่าแถบตรวจระดับน้ำตาลในเลือด พร้อมเข็มเจาะ จำนวน 55 กล่อง x390 บาท เป็นเงิน 21,450 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้ารับการคัดกรอง/แบบคัดกรองความเสี่ยงต่อภาวะโรคกลุ่ม Metabolic จำนวน 2,750 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 1,375 บาท
- สำลีก้อนชุบแอลกอฮอล์สำเร็จ แผงละ 8 ก้อน กล่องละ 100 แผง กล่องละ 850 บาท จำนวน 2 กล่อง เป็นเงิน 1,700 บาท
2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค รวมเป็นเงิน 2,150 บาท
2.1 ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัดจำนวน 50 คนx 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
2.2 ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน x 3 ชั่วโมง x 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
3. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
-
4. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน รวมเป็นเงิน 45,575 บาท
- เครื่องวัดความดันอัตโนมัติ จำนวน 13 หมู่บ้าน x จำนวน 13 เครื่อง x 3,500 บาท เป็นเงิน 45,500 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารแบบฟอร์มวัดความดันที่บ้าน จำนวน 150 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 75 บาท
5. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ รวมเป็นเงิน 1,650 บาท
- ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัดจำนวน 30 คน x 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน x 3 ชั่วโมง x 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
6. กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมเป็นเงิน 3,825 บาท
- ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัดจำนวน 117 คนx 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 2,925 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน x3 ชั่วโมง x 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
7. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน รวมเป็นเงิน 5,065 บาท
- ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัด จำนวน 195 คน x 1 มื้อ x 25บาท เป็นเงิน 4,875 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารแบบฟอร์มตรวจเท้า จำนวน 190 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 95 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญตรวจเท้า จำนวน 190 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 95บาท
6. ผลที่คาดว่าได้รับ
1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันได้
2. ลดอัตราการเกิดเบาหวานรายใหม่
3. กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.
4. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL) ได้รับการเจาะFBS ซ้ำเพื่อติดตามผล
5. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
6. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาล-ความดันโลหิตไม่ได้ ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น
ปัญหา/อุปสรรค
1.ประชาชนยังไม่เห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ2ส ชอบกินอาหาร รสหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายน้อย ดื่มสุรา สูบบุหรี่ ใช้ผงชูรส เช่น เครื่องปรุงรส
2. กลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิต ส่วนใหญ่ยังควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตไม่ได้
ข้อเสนอแนะเพื่อการแก้ไข
1.ควรจะเริ่มการดูแลสุขภาพด้วยการปลูกฝังการรณรงค์ตั้งแต่เด็กๆ ทำให้เป็นประจำ ฝึกนิสัยการบริโภคตามหลักสุขบัญญัติ
2.เยี่ยมบ้านติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม / การรับประทานยาตามแผนการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 90 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองร้อยละ 40 3.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ร้อยละ 50 5. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 6.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ร้อยละ 70
ตัวชี้วัด : 1. คัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป
ร้อยละ 90 ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง
2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ.2 ส. ร้อยละ 40
3. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 60 ประมวลผลจากฐานข้อมูล JHCIS
4. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านร้อยละ 50ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง
5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 5ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง
6. อสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประเมินจากแบบทดสอบการอบรม ก่อน-หลัง มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 85
7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติร้อยละ 70
ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2800
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
2,750
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 90 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองร้อยละ 40 3.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ร้อยละ 50 5. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 6.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ร้อยละ 70
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป (2) กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน (3) ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (4) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค (5) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ (6) กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (7) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดารุณี มากแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563 ”
พื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางดารุณี มากแก้ว
สิงหาคม 2563
ที่อยู่ พื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 82,790.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้สภาพปัญหาทางสุขภาพเปลี่ยนไปด้วย ปัจจุบันแนวโน้มปัญหาสุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้นจากสาเหตุโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเหล่านี้เป็นปัญหาที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลก ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นสถานการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การอนามัยโลก(WHO) รายงานว่า ในปี 2552 ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีจำนวน 108 ล้านคน เพิ่มขึ้นเป็น 422 ล้านคน ในปี 2557 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน 1.5 ล้านคน นอกจากนี้ ยังพบว่าประชากรทั่วโลกที่มีอายุ 18 ขึ้นไป ป่วยด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.7 เป็นร้อยละ 8.5 หรือเมื่อเปรียบเทียบแล้ว พบว่า ปัจจุบันประชากรวัยผู้ใหญ่ 1 ใน 11 คนป่วยเป็นโรคเบาหวาน ส่วนในประเทศไทย จากรายงานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราตายด้วยโรคเบาหวานต่อประชากรแสนคน ในภาพรวมของประเทศในปี 2556 - 2558 เท่ากับ 14.93, 17.53 และ 17.83 ตามลำดับ เห็นได้ว่า อัตราการตายด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปี และจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกายในประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ครั้งที่ 3, 4 และ 5 (ปี 2547, 2552 และ 2557) พบว่า ความชุกของโรคเบาหวาน ของครั้งที่ 3 ร้อยละ 7 ใกล้เคียงกับครั้งที่ 4 ร้อยละ 6.9 ส่วนครั้งที่ 5 เพิ่มสูงขึ้นเป็นร้อยละ 8.8 (คิดเป็น4.8ล้านคน)นอกจากนี้ ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติปี 2551 ยังพบว่าประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอกในการรักษาพยาบาลโรคเบาหวานเฉลี่ย 1,172 บาทต่อราย ส่วนผู้ป่วยในค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเฉลี่ย 10,217 บาทต่อราย รวมค่ารักษาพยาบาลทั้งสิ้น 3,984 ล้านบาทต่อปี หากคนไทยป่วยด้วยโรคเบาหวาน รวม 3 ล้านคนต่อปี
จังหวัดพัทลุงมีอัตราตายของผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 3.95 ต่ำกว่าในระดับประเทศ อำเภอควนขนุนมีอัตราตาย ร้อยละ 4.39 และ มีแนวโน้มผู้ป่วยโรคเบาหวานสูงขึ้นทุกๆปี จากสถิติตั้งแต่ 2558 – 2560 ความชุกของผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นดังนี้ 4.615, 5158, 5,483 ต่อแสนประชากร ตามลำดับตามลำดับ ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.ปันแต ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน จากปี2560 –2562อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ปี 2560-2562 จำนวน 584.89,327.71,471.09ต่อแสนประชากร อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ปี 2560-2562 จำนวน 747.36, 1101.93, 1182.57 ต่อแสนประชากร ตามลำดับการที่มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประเทศชาติสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพ ให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วยดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วย แนวทางการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดเป็นโรคแล้วจึงเป็นทางเลือกที่ดี การป้องกันและควบคุมโรคซึ่งสามารถกระทำได้ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 90 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองร้อยละ 40 3.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ร้อยละ 50 5. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 6.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ร้อยละ 70
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป
- กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน
- ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้
- กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2,750 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และความดันได้ 2 ลดอัตราการเกิดเบาหวานรายใหม่ 3 กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส. 4 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL) ได้รับการเจาะFBS ซ้ำเพื่อติดตามผล 5. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน 6. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาล-ความดันโลหิตไม่ได้ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น 7.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าตามเกณฑ์มาตรฐานได้รับการส่งต่อในรายที่พบภาวะผิดปกติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค |
||
วันที่ 4 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส
|
50 | 0 |
2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ |
||
วันที่ 11 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ปีงบประมาณ 2562 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 298 คน ได้รับการตรวจจำนวน 266 คน ควบคุมน้ำตาลได้ดี จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 18.46
ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ปีงบประมาณ 2563 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 311 คน ได้รับการตรวจจำนวน 253 คน ควบคุมน้ำตาลได้ดี จำนวน 100คน คิดเป็นร้อยละ 32.15
|
298 | 0 |
3. กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
||
วันที่ 13 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประเมินจากแบบทดสอบการอบรม ก่อน-หลัง มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 92
|
117 | 0 |
4. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน |
||
วันที่ 18 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 311 คน
|
311 | 0 |
5. 1. กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป |
||
วันที่ 28 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
กลุ่มเป้าหมายจำนวน 1,967 คน ได้รับการคัดกรอง จำนวน 1,874 คน คิดเป็นร้อยละ 95.27
กลุ่มปกติ จำนวน 1,541 คน คิดเป็นร้อยละ 82.23
กลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 6.40
กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 197 คน คิดเป็นร้อยละ 10.51
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงราย จำนวน 11 คน
|
1,967 | 0 |
6. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน |
||
วันที่ 28 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 234 คน ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จำนวน 202 คน คิดเป็นร้อยละ 86.32
|
234 | 0 |
7. ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม |
||
วันที่ 28 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
|
409 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน
-ประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป
คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
กลุ่มเป้าหมายจำนวน 1,967 คน ได้รับการคัดกรอง จำนวน 1,874 คน คิดเป็นร้อยละ 95.27
กลุ่มปกติ จำนวน 1,541 คน คิดเป็นร้อยละ 82.23
กลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 6.40
กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 197 คน คิดเป็นร้อยละ 10.51
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงราย จำนวน 11 คน
คิดเป็นร้อยละ 0.59
คัดกรองโรคเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2,342 คน ได้รับการคัดกรอง จำนวน 2,246 คน คิดเป็นร้อยละ 95.90
กลุ่มปกติ จำนวน 1,838 คน คิดเป็นร้อยละ 81.83
กลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน 334 คน คิดเป็นร้อยละ 14.87
กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 3.07
ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.22
-ประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กลุ่มเสี่ยงจำนวน 409 คน ได้รับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 394 คน คิดเป็นร้อยละ 96.33
-อัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 234 คน ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จำนวน 202 คน คิดเป็นร้อยละ 86.32
-ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ปีงบประมาณ 2562 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 298 คน ได้รับการตรวจจำนวน 266 คน ควบคุมน้ำตาลได้ดี จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 18.46
ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ปีงบประมาณ 2563 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 311 คน ได้รับการตรวจจำนวน 253 คน ควบคุมน้ำตาลได้ดี จำนวน 100คน คิดเป็นร้อยละ 32.15
สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2562 ร้อยละ 13.69
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ปีงบประมาณ 2562 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 702 คน ระดับความดันโลหิตได้ดี จำนวน 331 คน คิดเป็นร้อยละ 47.15
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ปีงบประมาณ 2563 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 734 คน ระดับความดันโลหิตได้ดี จำนวน 365 คน คิดเป็นร้อยละ 49.73
สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2562 ร้อยละ 2.58
-อสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประเมินจากแบบทดสอบการอบรม ก่อน-หลัง มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 92
-จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 311 คน
ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า จำนวน 264 คน คิดเป็นร้อยละ 84.89
3. ระยะเวลาดำเนินการ
1. คัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป เดือนมิถุนายน 2563
2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค
เดือนสิงหาคม 2563
3. ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เดือนกรกฎาคม 2563 –สิงหาคม 2563
4. ติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน
เดือนมิถุนายน 2563 –เดือนสิงหาคม 2563
5. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ เดือนสิงหาคม 2563
6. กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
เดือนสิงหาคม 2563
7. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต เดือนสิงหาคม 2563
4. สถานที่ดำเนินการ
1. คัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป
พื้นที่หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
3.ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
4. ติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน พื้นที่หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
5.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
6.กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
7.กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
5. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 82,790 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 82,790 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท คิดเป็นร้อยละ
รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้
1. กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไปรวมเป็นเงิน 24,525 บาท
- ค่าแถบตรวจระดับน้ำตาลในเลือด พร้อมเข็มเจาะ จำนวน 55 กล่อง x390 บาท เป็นเงิน 21,450 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้ารับการคัดกรอง/แบบคัดกรองความเสี่ยงต่อภาวะโรคกลุ่ม Metabolic จำนวน 2,750 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 1,375 บาท
- สำลีก้อนชุบแอลกอฮอล์สำเร็จ แผงละ 8 ก้อน กล่องละ 100 แผง กล่องละ 850 บาท จำนวน 2 กล่อง เป็นเงิน 1,700 บาท
2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค รวมเป็นเงิน 2,150 บาท
2.1 ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัดจำนวน 50 คนx 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
2.2 ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน x 3 ชั่วโมง x 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
3. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
-
4. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน รวมเป็นเงิน 45,575 บาท
- เครื่องวัดความดันอัตโนมัติ จำนวน 13 หมู่บ้าน x จำนวน 13 เครื่อง x 3,500 บาท เป็นเงิน 45,500 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารแบบฟอร์มวัดความดันที่บ้าน จำนวน 150 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 75 บาท
5. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ รวมเป็นเงิน 1,650 บาท
- ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัดจำนวน 30 คน x 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน x 3 ชั่วโมง x 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
6. กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมเป็นเงิน 3,825 บาท
- ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัดจำนวน 117 คนx 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 2,925 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน x3 ชั่วโมง x 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
7. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน รวมเป็นเงิน 5,065 บาท
- ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัด จำนวน 195 คน x 1 มื้อ x 25บาท เป็นเงิน 4,875 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารแบบฟอร์มตรวจเท้า จำนวน 190 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 95 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญตรวจเท้า จำนวน 190 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 95บาท
6. ผลที่คาดว่าได้รับ
1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันได้
2. ลดอัตราการเกิดเบาหวานรายใหม่
3. กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.
4. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL) ได้รับการเจาะFBS ซ้ำเพื่อติดตามผล
5. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
6. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาล-ความดันโลหิตไม่ได้ ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น
ปัญหา/อุปสรรค
1.ประชาชนยังไม่เห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ2ส ชอบกินอาหาร รสหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายน้อย ดื่มสุรา สูบบุหรี่ ใช้ผงชูรส เช่น เครื่องปรุงรส
2. กลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิต ส่วนใหญ่ยังควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตไม่ได้
ข้อเสนอแนะเพื่อการแก้ไข
1.ควรจะเริ่มการดูแลสุขภาพด้วยการปลูกฝังการรณรงค์ตั้งแต่เด็กๆ ทำให้เป็นประจำ ฝึกนิสัยการบริโภคตามหลักสุขบัญญัติ
2.เยี่ยมบ้านติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม / การรับประทานยาตามแผนการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 90 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองร้อยละ 40 3.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ร้อยละ 50 5. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 6.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ร้อยละ 70 ตัวชี้วัด : 1. คัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป ร้อยละ 90 ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง 2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ.2 ส. ร้อยละ 40 3. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 60 ประมวลผลจากฐานข้อมูล JHCIS 4. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านร้อยละ 50ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง 5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 5ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง 6. อสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประเมินจากแบบทดสอบการอบรม ก่อน-หลัง มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 85 7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติร้อยละ 70 ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2800 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2,750 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 90 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองร้อยละ 40 3.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ร้อยละ 50 5. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 6.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ร้อยละ 70
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป (2) กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน (3) ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (4) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค (5) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ (6) กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (7) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดารุณี มากแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......