กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการเด็กปิใหญ่สุขภาพดี ชีวีปลอดโรค ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายณรงค์กร ชำนาญเวช

ชื่อโครงการ โครงการเด็กปิใหญ่สุขภาพดี ชีวีปลอดโรค

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2564 – L8010 – 2 - 02 เลขที่ข้อตกลง 07/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กปิใหญ่สุขภาพดี ชีวีปลอดโรค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปิใหญ่สุขภาพดี ชีวีปลอดโรค



บทคัดย่อ

โครงการเด็กปิใหญ่สุขภาพดี ชีวีปลอดโรค ของโรงเรียนบ้านปิใหญ่ ปีการศึกษา 2564 ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีและมีอัตราฟันผุลดลง 2. เพื่อแก้ไข ส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ 3. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สมุนไพรไทยและให้นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น มีกิจกรรมดำเนินการ
1.อบรม
กิจกรรมที่ 1.1 สุขภาพช่องปากและฟัน โดยอบรมบรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากและฟันการแปรงฟันที่ถูกวิธี สร้างแกนนำนักเรียน ให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยงทุกวัน จัดรายการเสียงตามสายให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก จัดกิจกรรมตอบปัญหาสุขภาพช่องปาก และจัดประกวดหนูน้อยฟันดีโดยมีกลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ป.1-ป.2 จำนวน 90 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 30 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังและติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน นักเรียนร้อยละ 70 มีภาวะฟันผุลดลง นักเรียน ครูและผู้ปกครองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากละฟัน พบว่า มีการเฝ้าระวังและติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ร้อยละ 100 นักเรียนร้อยละ 70 มีภาวะฟันผุลดลง ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.50 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 83.42
กิจกรรมที่ 1.2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก แก่นักเรียน ผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการปรับเปลี่ยนพฟติกรรมเด็กที่มีปัญหาโภชนาการแต่ละราย ส่งเสริมให้เด็กบริโภคนมรสจืด โดยมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 94 คน และตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียน ที่มีปัญหาทุพโภชนาการร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในสภาวะปกติ นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกตินักเรียนที่มีส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.13 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 83.94 นักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 84.21 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในสภาวะปกติ นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ นักเรียนที่มีส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 1.3 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย โดยให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย การแปรรูปสมุนไพร และนำมาใช้ประโยชน์ นำผักที่ปลูกมาประกอบอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียนเพื่อให้เด็กได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ โดยมีกลุ่มเป้าหมายนักเรียน ป.1-ป.6 จำนวน 40 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 20 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และมีตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียน ผู้ปกครองและครู ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการนำสมุนไพรมาแปรรูปและใช้ประโยชน์ นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90.09
2. ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค
กิจกรรมที่ 2.1 ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค ปรับปรุงสถานที่ในโรงเรียน เตรียมสถานที่เพาะปลูกผัก/สมุนไพร นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนร่วมกันปลูกผัก สมุนไพรและดูแลผัก สมุนไพรตลอดจนการเก็บเกี่ยวทำน้ำหมักชีวภาพ และเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพร นำผักที่ปลูกส่งเสริมเป็นอาหารกลางวันและนำสมุนไพรมาแปรรูป โดยมีกลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ป.1-ป.6 จำนวน 40 คน ผู้ปกครองนักเรียนจำนวน 20 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และมีตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียน ผู้ปกครองและครู ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการนำสมุนไพรมาแปรรูปและใช้ประโยชน์นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป้นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้นร้อยละ 90.09
โรงเรียนได้ดำเนินการตามระบบ PDCA โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนและวิทยากรจากภายนอก มาจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมให้บรรลุตามเป้าหมาย เห็นได้จากนักเรียน ผู้ปกครอง ในชุมชนมีการแก้ไข ส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น โดยใช้กระบวนการและความรู้ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมในโครงการสามารถทำให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันดีขึ้น ภาวะทุพโภชนาการลดลง นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ รู้จักนำสมุนไพรไปแปรรูปและใช้ประโยชน์

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กปิใหญ่สุขภาพดี ชีวีปลอดโรค เป็นโครงการที่มุ่งส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ แก้ปัญหาสุขภาพให้นักเรียนและผู้ปกครองให้มาใส่ใจการสร้างเสริมสุขภาพ ด้วยการแปรงฟันที่ถูกวิธีรับประทานผักที่ปลอดภัย ใช้สมุนไพรที่ใกล้ตัวให้เกิดประโยชน์ รู้จักป้องกันตัวเองจากโรคภัยไข้เจ็บและมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น

จากการสำรวจปัญหาสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านปิใหญ่ปี พ.ศ.2563 พบว่า เด็กมีภาวะฟันผุ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.2 ปัญหาทุพโภชนาการ จำนวน 47 คน (น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มี จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ15.20, เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 12.00 เด็กที่มีส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 20 คนคิดเป็นร้อยละ 16.00) สาเหตุของปัญหาดังกล่าว เกิดจากเด็กไม่ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ไม่แปรงฟันหลังรับประทานอาหารและก่อนนอน รวมทั้งการบริโภคขนมหวาน และขนมขบเคี้ยวที่มีส่วนผสมของน้ำตาลก็ยิ่งทำให้เด็กมีโอกาสฟันผุสูงขึ้น ส่วนสาเหตุของปัญหาภาวะทุพโภชนาการนั้น เช่น เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ไม่ได้บริโภคอาหารตามความเหมาะสม เด็กอ้วน เกิดจากพฤติกรรมการกินที่ไม่มีขอบเขต ขาดการออกกำลังกาย ขาดการเคลื่อนไหวร่างกาย ส่วนเด็กที่มีส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ ไม่ชอบการบริโภคนม ไม่ชอบนมรสจืด เป็นต้น ซึ่งการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องส่งเสริมให้เด็กแปรงฟันที่ถูกวิธี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้เหมาะสม ส่งเสริมให้เด็กกินผักและผลไม้ที่ปลอดสารพิษ เพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกาย จะทำให้เด็กมีสุขภาพร่างกายที่ดี ห่างไกลจากโรค และมีการเจริญเติบโตตามวัย

จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านปิใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการ “เด็กปิใหญ่สุขภาพดี ชีวีปลอดโรค” เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุและ ภาวะทุพโภชนาการ เพื่อสร้างความตระหนักและให้ความรู้กับนักเรียน ผู้ปกครอง ส่งเสริมให้เด็กได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ และเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายที่เหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี และมีอัตราฟันผุลดลง
  2. เพื่อแก้ไข ส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ
  3. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สมุนไพรไทยและให้นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
  2. สร้างองค์ความรู้ให้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
  3. ให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย
  4. ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค
  5. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครู 10
ผู้ปกครอง 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
  2. นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการแก้ไขและมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
  3. นักเรียนมีการบริโภคผักเพิ่มขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม

  1. บรรยายให้ความรู้เรื่องดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน

  2. การแปรงฟันที่ถูกวิธี

  3. สร้างแกนนำนักเรียน

  4. ให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยงทุกวัน

  5. จัดรายการเสียงตามสายให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก

  6. จัดกิจกรรมตอบปัญหาสุขภาพช่องปาก

  7. จัดประกวดหนูน้อยฟันดี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการทดสอบก่อนการอบรมให้ความรู้เรื่องดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.50 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป้นร้อยละ 83.42 นักเรียนแปลงฟันได้ถูกวิธีขึ้น มีแกนนำนักเรียน จำนวน 8 คน จัดรายการเสียงตามสายให้ความรู้และประกวดหนูน้อยฟันดี ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันดีขึ้น

 

0 0

2. ให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย

วันที่ 1 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม

  1. ให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย การแปรรูปสมุนไพร และนำมาใช้ประโยชน์

  2. นำผักที่ปลูกมาประกอบอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียน เพื่อให้เด็กได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 90.09

 

0 0

3. ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค

วันที่ 1 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม

1.ปรับปรุงสถานที่ในโรงเรียน เตรียมสถานที่เพาะปลูกผัก/สมุนไพร

2.นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนร่วมกันปลูกผัก สมุนไพรและดูแลผัก สมุนไพร ตลอดจนการเก็บเกี่ยว

3.ทำน้ำหมักชีวภาพ และเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพร

4.นำผักที่ปลูกส่งเสริมเป็นอาหารกลางวัน และนำสมุนไพรมาแปรรูป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 90.09

 

0 0

4. สร้างองค์ความรู้ให้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม

  1. เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก

  2. ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก แก่นักเรียน ผู้ปกครองเด็ก ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

  3. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาโภชนาการแต่ละราย ดังนี้

เด็กมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์

  1. ปรับ – เปลี่ยนมากินอาหารที่หลากหลาย ครบ 5 หมู่

เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์

  1. ขยับ- กินเท่าไหร่ ต้องใช้ให้หมด เพิ่มการเคลื่อนไหว

    ร่างกายให้กับเด็ก ส่งเสริมให้เด็กออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

  2. เปลี่ยน- เปลี่ยนมากินอาหารที่มีความหวาน มัน เค็ม แต่พอดี

เด็กที่มีส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์

  1. ส่งเสริมให้เด็กบริโภคนมรสจืด

  2. ส่งเสริมให้เด็กออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

  3. ติดตามเด็กที่มีปัญหาโภชนาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็กแก่นักเรียน ผู้ปกครองเด็ก ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.13 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 83.94 นักเรียนมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 84.21 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ นักเรียนมีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ นักเรียนมีส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไขร้อยละ 100

 

0 0

5. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 21 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม

  1. รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

  2. จัดทำรายงานโครงการเสนอกองทุนตำบลอย่างน้อย 2 เล่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานผล 4 เล่ม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.อบรม
กิจกรรมที่ 1.1 สุขภาพช่องปากและฟัน โดยอบรมบรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากและฟันการแปรงฟันที่ถูกวิธี สร้างแกนนำนักเรียน ให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยงทุกวัน จัดรายการเสียงตามสายให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก จัดกิจกรรมตอบปัญหาสุขภาพช่องปาก และจัดประกวดหนูน้อยฟันดีโดยมีกลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ป.1-ป.2 จำนวน 90 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 30 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังและติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน นักเรียนร้อยละ 70 มีภาวะฟันผุลดลง นักเรียน ครูและผู้ปกครองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากละฟัน พบว่า มีการเฝ้าระวังและติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ร้อยละ 100 นักเรียนร้อยละ 70 มีภาวะฟันผุลดลง ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.50 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 83.42
กิจกรรมที่ 1.2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก แก่นักเรียน ผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการปรับเปลี่ยนพฟติกรรมเด็กที่มีปัญหาโภชนาการแต่ละราย ส่งเสริมให้เด็กบริโภคนมรสจืด โดยมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 94 คน และตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียน ที่มีปัญหาทุพโภชนาการร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในสภาวะปกติ นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกตินักเรียนที่มีส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.13 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 83.94 นักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 84.21 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในสภาวะปกติ นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ นักเรียนที่มีส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 1.3 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย โดยให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย การแปรรูปสมุนไพร และนำมาใช้ประโยชน์ นำผักที่ปลูกมาประกอบอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียนเพื่อให้เด็กได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ โดยมีกลุ่มเป้าหมายนักเรียน ป.1-ป.6 จำนวน 40 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 20 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และมีตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียน ผู้ปกครองและครู ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการนำสมุนไพรมาแปรรูปและใช้ประโยชน์ นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90.09
2. ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค
กิจกรรมที่ 2.1 ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค ปรับปรุงสถานที่ในโรงเรียน เตรียมสถานที่เพาะปลูกผัก/สมุนไพร นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนร่วมกันปลูกผัก สมุนไพรและดูแลผัก สมุนไพรตลอดจนการเก็บเกี่ยวทำน้ำหมักชีวภาพ และเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพร นำผักที่ปลูกส่งเสริมเป็นอาหารกลางวันและนำสมุนไพรมาแปรรูป โดยมีกลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ป.1-ป.6 จำนวน 40 คน ผู้ปกครองนักเรียนจำนวน 20 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และมีตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียน ผู้ปกครองและครู ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการนำสมุนไพรมาแปรรูปและใช้ประโยชน์นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป้นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้นร้อยละ 90.09

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี และมีอัตราฟันผุลดลง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังและติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 2. นักเรียนร้อยละ 70 มีภาวะฟันผุลดลง 3. นักเรียน ครูและผู้ปกครองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากและฟัน
100.00 83.42

 

2 เพื่อแก้ไข ส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียน ที่มีปัญหาทุพโภชนาการร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ 2. นักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ 3. นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ 4. นักเรียนที่มีความสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไขร้อยละ 100
100.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สมุนไพรไทยและให้นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน ผู้ปกครองและครู ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการนำสมุนไพรมาแปรรูปและใช้ประโยชน์ 2. นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90 90
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครู 10 10
ผู้ปกครอง 30 30

บทคัดย่อ*

โครงการเด็กปิใหญ่สุขภาพดี ชีวีปลอดโรค ของโรงเรียนบ้านปิใหญ่ ปีการศึกษา 2564 ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีและมีอัตราฟันผุลดลง 2. เพื่อแก้ไข ส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ 3. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สมุนไพรไทยและให้นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น มีกิจกรรมดำเนินการ
1.อบรม
กิจกรรมที่ 1.1 สุขภาพช่องปากและฟัน โดยอบรมบรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากและฟันการแปรงฟันที่ถูกวิธี สร้างแกนนำนักเรียน ให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยงทุกวัน จัดรายการเสียงตามสายให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก จัดกิจกรรมตอบปัญหาสุขภาพช่องปาก และจัดประกวดหนูน้อยฟันดีโดยมีกลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ป.1-ป.2 จำนวน 90 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 30 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังและติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน นักเรียนร้อยละ 70 มีภาวะฟันผุลดลง นักเรียน ครูและผู้ปกครองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากละฟัน พบว่า มีการเฝ้าระวังและติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ร้อยละ 100 นักเรียนร้อยละ 70 มีภาวะฟันผุลดลง ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.50 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 83.42
กิจกรรมที่ 1.2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก แก่นักเรียน ผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการปรับเปลี่ยนพฟติกรรมเด็กที่มีปัญหาโภชนาการแต่ละราย ส่งเสริมให้เด็กบริโภคนมรสจืด โดยมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 94 คน และตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียน ที่มีปัญหาทุพโภชนาการร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในสภาวะปกติ นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกตินักเรียนที่มีส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 67.13 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 83.94 นักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 84.21 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในสภาวะปกติ นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ นักเรียนที่มีส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 1.3 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย โดยให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ/สมุนไพรไทย การแปรรูปสมุนไพร และนำมาใช้ประโยชน์ นำผักที่ปลูกมาประกอบอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียนเพื่อให้เด็กได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ โดยมีกลุ่มเป้าหมายนักเรียน ป.1-ป.6 จำนวน 40 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 20 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และมีตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียน ผู้ปกครองและครู ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการนำสมุนไพรมาแปรรูปและใช้ประโยชน์ นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90.09
2. ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค
กิจกรรมที่ 2.1 ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดโรค ปรับปรุงสถานที่ในโรงเรียน เตรียมสถานที่เพาะปลูกผัก/สมุนไพร นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนร่วมกันปลูกผัก สมุนไพรและดูแลผัก สมุนไพรตลอดจนการเก็บเกี่ยวทำน้ำหมักชีวภาพ และเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพร นำผักที่ปลูกส่งเสริมเป็นอาหารกลางวันและนำสมุนไพรมาแปรรูป โดยมีกลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ป.1-ป.6 จำนวน 40 คน ผู้ปกครองนักเรียนจำนวน 20 คน ครู บุคลากร จำนวน 10 คน และมีตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียน ผู้ปกครองและครู ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการนำสมุนไพรมาแปรรูปและใช้ประโยชน์นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป้นร้อยละ 66.11 และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ 84.11 นักเรียนบริโภคผักเพิ่มขึ้นร้อยละ 90.09
โรงเรียนได้ดำเนินการตามระบบ PDCA โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนและวิทยากรจากภายนอก มาจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมให้บรรลุตามเป้าหมาย เห็นได้จากนักเรียน ผู้ปกครอง ในชุมชนมีการแก้ไข ส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น โดยใช้กระบวนการและความรู้ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมในโครงการสามารถทำให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันดีขึ้น ภาวะทุพโภชนาการลดลง นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ รู้จักนำสมุนไพรไปแปรรูปและใช้ประโยชน์

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. การดำเนินงานอยู่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด- โรงเรียนจะต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนอยู่เป็นระยะๆ ทำให้การดำเนินงานตามโครงการเกิดการล่าช้า บางกิจกรรมก็จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบบ้างตามสถานการณ์เพื่อให้กิจกรรมตามโครงการสามารถดำเนินการไปได้
  2. การดำเนินงานกิจกรรมบางกิจกรรมขาดความต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากโรงเรียนมีทั้งการเปิดเรียนปกติและให้นักเรียนมารับใบงานในบางครั้ง เช่น กิจกรรมการแปรงฟัน

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเด็กปิใหญ่สุขภาพดี ชีวีปลอดโรค

รหัสโครงการ 2564 – L8010 – 2 - 02 รหัสสัญญา 07/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเด็กปิใหญ่สุขภาพดี ชีวีปลอดโรค จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2564 – L8010 – 2 - 02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณรงค์กร ชำนาญเวช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด